จากที่เธอได้เรียนวิชาการจัดการชั้นเรียนโดยใช้WeblogหรือฺBlog ผู้เรียนเห็นว่าการใช้งานนี้มีจุดเด่นจุดด้อยอย่างไร
ให้แสดงความคิดเห็นได้เต็มที่ เพื่อจะนำไปพัฒนาใช้ในโอกาสต่อไป แสดงความคิดเห็นให้ก่อนสอบจะเป็นคะแนนช่วยเพิ่มเติ่ม
ข้อดี
- การเรียนการสอนผ่านทาง weblog นั้นทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้นวัตกรรมใหม่ๆที่เป็นประโยชน์ต่อตัวผู้เรียนในเวลาอันใกล้และในอนาคต
- การเรียนที่ใช้ weblog นั้นสะดวกในการได้รับคำติชมหรือการแสดงความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนหรือจากบุคคลภายนอกที่เข้ามาแสดงความคิดเห็น
- weblog เป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนร่วมกัน และได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เกิดความสามัคคีกันแลมีน้ำใจแก่ผู้อื่น
- weblog เป็นสิ่งที่น่าสนใจ และดึงดูดให้ผู้เรียนได้สนใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มที่ เพราะการเรียนการสอนไม่จำเป็นต้องเรียนรู้เฉพาะในตำราเรียนเท่านั้น
- weblog น่าจะเป็นนวัตกรรมที่ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมทฤธิ์ทางการเรียนทางการเรียนดีขึ้น เพราะการเรียนการสอนไม่น่าเบื่อ
- เป็นการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ และเกิดการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา
-เป็นความรู้ใหม่ที่นักศึกษาวิชาชีพสมควรศึกษา เพราะสามารถนำไปใช้ได้ในอนาคต /เป็นชิ้นงานหรือผลงานของตนเอง
- เกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง เพราะนอกจากมีผลงานส่งอาจารย์ผู้สอนแล้ว ยังมีผลงานเผยแพร่ต่อสายตาสาธารณชนอีกด้วย
ข้อเสีย
- สำหรับนักศึกษาที่ไม่มีคอมพิวเตอร์เป็นของตนเองก็จะลำบากในการเรียนการสอนหรือการส่งงาน
- การส่งงานหรือตกแต่ง weblog นั้นต้องใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ต แต่ที่หอพักไม่ค่อยมีสัญญาณอินเตอร์เน็ตเลย จึงทำให้ไม่ค่อยสะดวกในการทำงาน
อย่างไรก็ตามกระผมคิดว่าการเรียนการสอนที่ใช้ weblog นั้นถือว่าเป็นประโยชน์ต่อตัวของกระผมมากทำให้กระผมก้าวทันนวัตกรรม เทคโนโลยีสมัยที่พัฒนาอยู่ตลอดเวลา กระผมขอขอบพระคุณอาจารย์ผู้สอนเป็นอย่างยิ่งที่นำการสอน weblogมาใช้ในการสอนในครั้งนี้
วิรัช ศรีสวัสดิ์
5011103039
วันพฤหัสบดีที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ข้อสอบ
ให้นักเรียนตอบข้อสอบลงในWeblog ของนักเรียนแต่ละคน
คำสั่ง ให้นักเรียนทำข้อสอบโดยการแสดงความคิดเห็นสะท้อนข้อคิดพร้อมยกตัวอย่างประกอบในการแสดงความคิดเห็นให้เป็นเหตุเป็นผลของผู้เรียน อาจารย์จะอ่านข้อคิดเห็นที่เป็นเหตุเป็นผลต่อกัน เขียนในWeblog ให้ชวนอ่าน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
6 ท่านเป็นคนที่ปลดหนี้ IMS
7ท่านช่วยลดปัญหาเรื่อง “ยาเสพติดที่เกิดขึ้นภายในประเทศ”
10ส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย
5. เล่นพักเล่นพวกและเปิดโอกาสให้พี่น้องหรือครอบครัวเข้ามาหาประโยชน์จากโครงการของรัฐ อาทิ “กรณีการขายหุ้นบริษัทชินคอร์ปปอเรชั่น จำกัด มหาชน
6. ใช้นโยบายหว่านเงินให้กับประชาชนในระดับรากหญ้า เพื่อสร้างความนิยมทางการเมือง
7. ขาดความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาโดยฐานรากและขาดการแก้ปัญหาโดยความสันติวิธี เช่น ปัญหาความรุนแรงในจังหวัดสามชายแดนภาคใต้
8. การบริงานราชารแผ่นดินมาโปร่งใส่ไม่สามารถตรวจสอบได้
9. ไม่มีความซื่อสัตย์ ไม่มีศีลธรรม และหวังผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
หากข้าพเจ้าจะสอนนักเรียนให้มีความคิดที่เป็นผู้นำข้าพเจ้าก็จะสอนให้นักเรียนเป็นคนที่รู้จักคิดกว้างไกล หรือกล้าในการคิดสมัยใหม่ เป็นคนที่จะต้องมีการทำงานให้เป็นระบบ และมีการวางแผนการทำงานเสมอ เพราะการวางแผนงานนั้นเราจะรู้ว่าต้องทำงานอย่างไรบ้าง ต้องฝึกให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออกและมีความมั่นใจในตัวเอง โดยข้าพเจ้าจะสอนให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความสามัคคี และการเป็นฝึกการเป็นผู้นำในกลุ่มขนาดเล็ก หรือฝึกการเป็นผู้ตามที่ดี ฝึกให้ทุกคนในกลุ่มยอมรับเสียงข้างมากพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในลุ่ม และยอมให้อภัยกับสมาชิกในกลุ่มเมื่อมีเรื่อองเข้าใจผิดกัน ตลอดจนเป็นการฝึกให้ทุกคนเห็นประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ของส่วนตัว และข้าพเจ้าจะสอนให้นักเรียนดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง หรือแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะทำให้นักเรียนสามารถเป็นผู้นำที่ดีได้ในอนาคต
ข้อที่ 2 การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่จะให้มีประสิทธิภาพท่านจะมีวิธีคิดอย่างไรหากท่านเป็นครูที่ดีควรเตรียมการเป็นที่ครูที่ดีอย่างไรให้ท่านแสดงความคิดเห็นของท่านเอง
ตอบ การจัดการเรียนการสอนที่จะให้มีประสิทธิภาพนั้น ข้าพเจ้าคิดว่า จะจัดการเรียนการสอน “แบบกลุ่ม โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
สำหรับการเตรียมการเป็นครูที่ดีนั้น ข้าพเจ้าจะเริ่มจากตัวของข้าพเจ้าเองโดย
- ต้องรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
- ต้องฝึกตัวเองให้เป็นคนที่มีความอดทนอดกลั้น อดออม เสียสละ และโอบอ้อมอารี
- ต้องฝึกตนเองให้เป็นคนที่มีระเบียบมีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย
ฝึกตนเองเป็นคนที่มีความริเริ่มสร้างสรรค์ คิดกว้างไกล โดยต้องคิดในใจเสมอว่า
- “การเรียนรู้สามารถเรียนร้ได้ตลอดชีวิต”
- ฝึกให้ตนเองมีความกระตือรือร้นในระบบการปกครองในระบบประชาธิปไตย มีความรักและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตย์
- ฝึกให้เป็นคนมีคุณธรรมประจำใจ คือ (อิทธิบาท 4) คือ มีความเพียรพยายามในการสอน มีความพอใจต่อหน้าที่การงาน ตริตรองหรือพิจารณาหาเหตุผลของงานเพื่อให้เจริญก้าวหน้าอยู่เสมอ
- ต้องรู้จักการเขียนแผนการสอนและการเตรียมตัวการสอนล่วงหน้า
- ต้องมีความเป็นกันเองกับผู้เรียนทำให้ผู้เรียนไว้ใจ และปรึกษาผู้สอนได้ทุกเรื่อง
- ต้องฝึกให้ตนเองสามารถใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลาย พร้อมทั้งสามารถนำมาปรับหรือประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับนักเรียน
- ต้องปรับตัวให้เข้ากับชุมชนหรือผู้ปกครองที่ข้าพเจ้าจะไปสอนที่นั้น โดยการสร้างสัมพันธ์อันดีกับบิดา มารดาและผู้ปกครองของนักเรียน ช่วยเหลือชุมชน สังคม เมื่อมีโอกาสไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม พร้อมทั้งรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมที่ดีของชุมชนเหล่านั้นไว้
จากการที่กล่าวมาแล้วข้าพเจ้าแน่ใจว่าข้าพเจ้าจะเป็นครูที่ดีในอนาคตได้ และเป็นครูพันธ์ใหม่ที่พร้อมพัฒนาระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
ข้อที่ 1 กรณีที่เกิดความวุ่ยวายของบ้านเมืองโดยเฉพาะผู้นำประเทศที่ผ่านมา ท่านในฐานะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะแสดงความคิดเห็น อดีตนายกทักษิณ ทั้งข้อดีและข้อเสียของท่าน หากพิจารณาข้อดีและข้อเสียท่านจะนำมาสอนให้ผู้เรียนเกิดความคิดที่จะเป็นผู้นำที่ดีได้อย่างไร
ตอบ ข้อดีของอดีตนายกทักษิณ 1 เป็นคนที่เก่ง และฉลาด
2 เป็นคนที่มีบุคลิกภาพที่มีดี มีความมั่นใจในตนเองสูง3 เป็นคนที่คิดกว้างไกล และคิดทำงานอย่างเป็นระบบ มีการวางแผนการทำงาน
4 เป็นนายกคนหนึ่งที่ทำให้เศรษฐกิจดีในระดับหนึ่ง อาทิ ภาคใต้ยางก็จะแพง ปาล์มก็แพง เป็นต้น
5 เป็นคนรู้จักใช้กฎหมาย สร้างกฎหมาย6 ท่านเป็นคนที่ปลดหนี้ IMS
7ท่านช่วยลดปัญหาเรื่อง “ยาเสพติดที่เกิดขึ้นภายในประเทศ”
8ช่วยนำเสนอผลงานที่เกิดจากฝีมือของคนในท้องถิ่นให้คนต่างชาติได้รู้ ทำให้กระจายเงินให้กับคนในชนบท เช่น “OTOP”
9ช่วยทำให้ความสัมพันธ์อันดีให้กับต่างประเทศ ทำให้มีคนเข้ามาในประเทศมากยิ่งขึ้น10ส่งเสริมการท่องเที่ยวของประเทศไทย
ข้อเสียของอดีตนายกทักษิณ
1. ขาดจริยธรรมและความชอบทำในการปกครองประเทศ
2. ใช้อำนาจเสียงข้างมากในการแทรกแซง ครอบครำกระบวนการนิติบัญญิติ3. ทำลายความเป็นอิสระของสื่อมวลชน สร้างความอ่อนแอให้แก่องค์กรอิสระทำให้เหล่านั้น ทำให้องค์กรดังกล่าวขาดความน่าเชื่อถือ ในที่สุดไม่สามารถที่จะตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจในตอนที่ท่านเป็นนายกได้
4. ปล่อยให้เกิดการคอรับชั่นอย่างกว้างขวาง5. เล่นพักเล่นพวกและเปิดโอกาสให้พี่น้องหรือครอบครัวเข้ามาหาประโยชน์จากโครงการของรัฐ อาทิ “กรณีการขายหุ้นบริษัทชินคอร์ปปอเรชั่น จำกัด มหาชน
6. ใช้นโยบายหว่านเงินให้กับประชาชนในระดับรากหญ้า เพื่อสร้างความนิยมทางการเมือง
7. ขาดความมุ่งมั่นในการแก้ปัญหาโดยฐานรากและขาดการแก้ปัญหาโดยความสันติวิธี เช่น ปัญหาความรุนแรงในจังหวัดสามชายแดนภาคใต้
8. การบริงานราชารแผ่นดินมาโปร่งใส่ไม่สามารถตรวจสอบได้
9. ไม่มีความซื่อสัตย์ ไม่มีศีลธรรม และหวังผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม
หากข้าพเจ้าจะสอนนักเรียนให้มีความคิดที่เป็นผู้นำข้าพเจ้าก็จะสอนให้นักเรียนเป็นคนที่รู้จักคิดกว้างไกล หรือกล้าในการคิดสมัยใหม่ เป็นคนที่จะต้องมีการทำงานให้เป็นระบบ และมีการวางแผนการทำงานเสมอ เพราะการวางแผนงานนั้นเราจะรู้ว่าต้องทำงานอย่างไรบ้าง ต้องฝึกให้นักเรียนมีความกล้าแสดงออกและมีความมั่นใจในตัวเอง โดยข้าพเจ้าจะสอนให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกความสามัคคี และการเป็นฝึกการเป็นผู้นำในกลุ่มขนาดเล็ก หรือฝึกการเป็นผู้ตามที่ดี ฝึกให้ทุกคนในกลุ่มยอมรับเสียงข้างมากพร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกในลุ่ม และยอมให้อภัยกับสมาชิกในกลุ่มเมื่อมีเรื่อองเข้าใจผิดกัน ตลอดจนเป็นการฝึกให้ทุกคนเห็นประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ของส่วนตัว และข้าพเจ้าจะสอนให้นักเรียนดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง หรือแบบเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งจะทำให้นักเรียนสามารถเป็นผู้นำที่ดีได้ในอนาคต
ข้อที่ 2 การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนที่จะให้มีประสิทธิภาพท่านจะมีวิธีคิดอย่างไรหากท่านเป็นครูที่ดีควรเตรียมการเป็นที่ครูที่ดีอย่างไรให้ท่านแสดงความคิดเห็นของท่านเอง
ตอบ การจัดการเรียนการสอนที่จะให้มีประสิทธิภาพนั้น ข้าพเจ้าคิดว่า จะจัดการเรียนการสอน “แบบกลุ่ม โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ และคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
สำหรับการเตรียมการเป็นครูที่ดีนั้น ข้าพเจ้าจะเริ่มจากตัวของข้าพเจ้าเองโดย
- ต้องรักและศรัทธาในวิชาชีพครู
- ต้องฝึกตัวเองให้เป็นคนที่มีความอดทนอดกลั้น อดออม เสียสละ และโอบอ้อมอารี
- ต้องฝึกตนเองให้เป็นคนที่มีระเบียบมีวินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบในหน้าที่การงานที่ได้รับมอบหมาย
ฝึกตนเองเป็นคนที่มีความริเริ่มสร้างสรรค์ คิดกว้างไกล โดยต้องคิดในใจเสมอว่า
- “การเรียนรู้สามารถเรียนร้ได้ตลอดชีวิต”
- ฝึกให้ตนเองมีความกระตือรือร้นในระบบการปกครองในระบบประชาธิปไตย มีความรักและเทิดทูน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตย์
- ฝึกให้เป็นคนมีคุณธรรมประจำใจ คือ (อิทธิบาท 4) คือ มีความเพียรพยายามในการสอน มีความพอใจต่อหน้าที่การงาน ตริตรองหรือพิจารณาหาเหตุผลของงานเพื่อให้เจริญก้าวหน้าอยู่เสมอ
- ต้องรู้จักการเขียนแผนการสอนและการเตรียมตัวการสอนล่วงหน้า
- ต้องมีความเป็นกันเองกับผู้เรียนทำให้ผู้เรียนไว้ใจ และปรึกษาผู้สอนได้ทุกเรื่อง
- ต้องฝึกให้ตนเองสามารถใช้รูปแบบการสอนที่หลากหลาย พร้อมทั้งสามารถนำมาปรับหรือประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับนักเรียน
- ต้องปรับตัวให้เข้ากับชุมชนหรือผู้ปกครองที่ข้าพเจ้าจะไปสอนที่นั้น โดยการสร้างสัมพันธ์อันดีกับบิดา มารดาและผู้ปกครองของนักเรียน ช่วยเหลือชุมชน สังคม เมื่อมีโอกาสไม่ว่าจะเป็นเรื่องใดก็ตาม พร้อมทั้งรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมที่ดีของชุมชนเหล่านั้นไว้
จากการที่กล่าวมาแล้วข้าพเจ้าแน่ใจว่าข้าพเจ้าจะเป็นครูที่ดีในอนาคตได้ และเป็นครูพันธ์ใหม่ที่พร้อมพัฒนาระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 10
การจัดชั้นเรียนที่ดี
ความหมายของการจัดชั้นเรียน
การจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพในห้องเรียน
การจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของนักเรียน
การสร้างวินัยในชั้นเรียน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
การพัฒนาทักษะการสอนของครูให้สามารถกระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนเพื่อให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพ
ความสำคัญของการจัดชั้นเรียน
1. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นไม่ได้หรือเกิดได้น้อยถ้ามีสิ่งรบกวนในชั้นเรียนตลอดเวลาด้วยปัญหาด้านพฤติกรรมของนักเรียน
2. นักเรียนที่อยู่ในชั้นเรียนที่ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนมีเสียงดังและสิ่งรบกวน หรือการจัดที่นั่งไม่เหมาะสม อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดปัญหาทางวินัยนำไปสู่พฤติกรรมที่ก้าวร้าวหรือทำให้นักเรียนไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ ส่งผลให้ไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
3. การกำหนดคุณลักษณะพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ของนักเรียนไว้ล่วงหน้ามีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการจัดการชั้นเรียน เพราะจะทำให้นักเรียนมีแนวทางในการควบคุมพฤติกรรมของตนเองโดยไม่แสดงพฤติกรรมที่จะเป็นการรบกวนการเรียนรู้ของผู้อื่น
4. ชั้นเรียนที่มีการจัดการกับพฤติกรรมของนักเรียนได้อย่างเหมาะสม จะทำให้ครูสามารถดำเนินการสอนได้อย่างเต็มที่โดยไม่เสียเวลากับการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน
5. การจัดการชั้นเรียนให้นักเรียนมีวินัยในการเรียนรู้และการอยู่ร่วมกันด้วยความเอื้ออาทรโดยคำนึงถึงกฎระเบียบของชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง นอกจากยังเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรุ้แล้วยังมีผลในระยะยาว คือ เป็นการปลูกฝั่งลักษณะนิสัยเพื่อเป็นการพลเมืองดีในอนาคตอีกด้วย
สรุปความสำคัญของการจัดชั้นเรียน
การดำเนินการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน เพื่อการกระตุ้นและส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้รวมถึงการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนตลอดจนบรรลุเป้าหมายของการศึกษา
การจัดชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
บรรยากาศการเรียนรู้ หมายถึง การจัดสภาพแวดล้อมให้แก่นักเรียนทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ทั้งทางด้นกายภาพ ได้แก่ การจัดห้องเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักเรียนอย่างหลากหลาย ตั้งแต่โต๊ะเรียน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน การร่วมกันสร้างกฎกติกาของการเรียนรู้ในชั้นเรียน
การจัดชั้นเรียนให้บรรลุเป้าหมาย
ครูจะต้องดำเนินงานในสิ่งต่อไปนี้
1. การจัดเก็บอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆในชั้นเรียน
2. การกำหนดลักษณะการเคลื่อนไหวของนักเรียนในชั้นเรียน
3. การกำหนดกฎระเบียบในชั้นเรียน
4. การเริ่มและการสิ้นสุดการสอนด้วยความราบรื่น
5. การจัดการเกี่ยวกับการเปลี่ยนกิจกรรมในระหว่างชั่วโมงเรียน
6. การจัดการเกี่ยวกับการทำกิจกรรมของนักเรียน เริ่มจากการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจบทเรียน และขจัดอุปสรรคหรือสิ่งที่จะรบกวนให้น้อยที่สุด
7. การดำเนินงานให้การเรียนรู้เป็นไปในทางที่ครูได้กำหนดหรือวางแผนไว้
8. การดำเนินการเพื่อให้นักเรียนพัฒนาตามความต้องารของนักเรียนแต่ละคน
ปัจจัยเงื่อนไขของความสำเร็จในการจัดการชั้นเรียน
- การจัดที่นั่งของนัดเรียนในชั้นเรียนเป็นอย่างไร
- ปฎิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน หรือนักเรียนกับนักเรียนเป็นอย่างไร
- การเคลื่อนที่ไปรอบๆห้องของสมาชิกในชั้นเรียนจะทำได้ในกรณีใด
- การรับรู้ถึงบรรยากาศและระเบียบวินัยในภาพรวมเป็นอย่างไร
ลักษณะของการจัดชั้นเรียนทางกายภาพที่ดี
1. มีการจัดที่นั่งในชั้นเรียนอย่างชัดเจน เพื่อใช้อเนกประสงค์และเพื่อให้นักเรียนมั่นใจในการใช้พื้นที่ว่างของตน ตัวอย่างเช่น
- บริเวณที่มีการใช้วัสดุร่วมกัน
- ที่ว่างส่วนตัวที่นักเรียนจะทำงานโดยลำพัง เช่น โต๊ะแถวของนักเรียนแต่ละคน
2. ในชั้นเรียนที่มีนักเรียนมีปัญหาทั้งด้านการเรียนและด้านพฤติกรรม อาจแก้ปัญหาได้ด้วยการแยกกลุ่มออกมาอยู่ในที่ว่างมากขึ้น เพื่อให้นักเรียนสงบ มีสมาธิในการทำงานมากขึ้น
3. มีที่ว่างส่วนตัวของนักเรียนแต่ละคน และมีพื้นที่ของนักเรียนทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มเล็กสำหรับทำกิจกรรมต่างๆ มีที่ว่างสำหรับจัดเก็บอุปกรณ์ต่างๆ
4. ลักษณะที่นั่งของนักเรียนเป็นแถว เพื่อความสะดวกในการทำกิจกรรมการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาการ
5. การจัดที่นั่งลักษณะเป็นกลุ่ม จะทำให้นักเรียนมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
6. การจัดชั้นเรียนในบริเวณที่จำกัดและมีการใช้อย่างหนาแน่น เช่น บริเวณที่เหลาดินสอ ที่วางถังขยะหลังห้อง ตลอดจนส่วนที่จะให้นักเรียนถูกรบกวนโดยง่าย ครูควรจัดให้นักเรียนนั่งห่างออกไป
7. ครูและนักเรียนทั้งชั้นเรียนควรมองเห็นกันและกันอย่างชัดเจน
8. ควรจำกัดสิ่งเร้าทางการมองเห็นและการได้ยินที่จะมารบกวนความสนใจและพฤติกรรมของนักเรียน ซึ่งจะทำให้นักเรียนสามารถดำเนินงานในชั้นเรียน
9. การจัดที่นั่งสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ ควรให้นั่งอยู่ใกล้กับครูจะทำให้เกิดผลดี เพราะทำให้ครูจัดการกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้
10. การจัดชั้นเรียนทางกายภาพที่เป็นระเบียบเรียบร้อยจะมีประโยชน์และทำให้เกิดพลัง เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใบงานที่ 9
บุคคลที่คุณคิดว่าเป็นผู้นำในทัศนคติของคุณ
ปราชญ์ชาวบ้าน
ประยงค์ รณรงค์
ประวัติส่วนตัว
วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 24 สิงหาคม 2480 สถานที่เกิด บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 5 ต.นากะชะ อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช บิดา มารดา นายห้วง นางแจ้ง รณรงค์ มีพี่น้องรวม 6 คน
นายประยงค์ รณรงค์
นายประยูร รณรงค์
นางเกษร รัตนะ
นายวิโรจน์ รณรงค์
นายปรีชา รณรงค์
นายเชาวลิต รณรงค์
คู่สมรส ภรรยาชื่อ นางแนบ รณรงค์ มีบุตร ธิดา รวม 5 คน
นายเนาวรัตน์ รณรงค์
นายนรินทร์ รณรงค์
นางจริยา โชคประสิทธิ์
นายสาธิต รณรงค์
นาวสาวสุนิสา รณรงค์
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 51 หมู่ 9 ต.ไม้เรียง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช 80260 โทรศัพท์ 0819560865 อาชีพ อาชีพหลัก ทำสวนยางพารา อาชีพรอง ทำสวนผลไม้ (สวนสมรม) อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว์ (ปลา,ไก่พื้นเมือง)
การศึกษา
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านนาเส ม.5 ต.นากะชะ อ.ฉวาง
ประวัติการศึกษาและการศึกษาดูงาน
-ศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ปี พ.ศ. 2528 เป็นเวลา 12 วัน
-ศึกษาดูงานด้านสหกรณ์ อุตสาหกรรมชุมชน และเกษตรกรรม ในประเทศฝรั่งเศส – เยอรมนี - เบลเยี่ยม ในปี พ.ศ.2534 เป็นเวลา 30 วัน
-ศึกษาดูงาน “หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น ปี พ.ศ.2544 เป็นเวลา 4 วัน
-ร่วมคณะสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ลาว กัมพูชา ปี พ.ศ.4545 เป็นเวลา 3 วัน
-ศึกษาดูงานในประเทศฟิลิปปินส์ ขณะเดินทางไปรับรางวัลรามอน แมกไซไซ ปี พ.ศ.2547 เป็นเวลา 7 วัน
-ศึกษาดูงาน ณ ประเทศภูฏาน ปี พ.ศ.2549 เป็นเวลา 5 วัน
ผลงาน
พ.ศ.2530 ผู้นำอาชีพก้าวหน้าของกระทรวงมหาดไทย
พ.ศ.2537 คนดีศรีสังคม
พ.ศ.2540 เป็นผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมไทย
พ.ศ.2544 ได้รับการยกย่องเป็นครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 1 ของ สกศ.
ประสบการณ์การทำงาน
ปี พ.ศ.2527 เป็นผู้นำการก่อตั้งกลุ่มเกษตรกรทำสวนยางตำบลไม้เรียง
ปี พ.ศ.2530 - 2534 เป็นผู้จัดการกลุ่มเกษตรทำสวนยางไม้เรียง
ปี พ.ศ.2535 - 2547 เป็นประธานกลุ่มเกษตรกรทำสวนยางไม้เรียง
ปี พ.ศ.2535 - ปัจจุบัน เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนไม้เรียง
ปี พ.ศ.2536 เป็นประธานเครือข่ายยมนา (ยาง,ไม้ผล,นาข้าว)
ปี พ.ศ.2539 เป็นผู้นำจัดทำแผนแม่บทชุมชนไม้เรียง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช
ปี พ.ศ.2540 เป็นผู้นำจัดทำแผนแม่บทการพัฒนายางพาราไทย ฉบับประชาชน
ปี พ.ศ.2541 – 2545 เป็นกรรมการบริหารกองทุนเพื่อสังคม (SIF)
ปี พ.ศ.2541 – 2547 เป็นประธานบริษัทเครือข่ายผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (วิสาหกิจชุมชน)
ปี พ.ศ.2544 – 2546 เป็นกรรมการบริหารโครงการเกษตรกรรมยั่งยืน (DANCED)
ปี พ.ศ.2544 – 2547 เป็นอนุกรรมการประสานงานสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
ปี พ.ศ.2544 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการบริหารวิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.)
ปี พ.ศ.2546 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการมูลนิธิหมู่บ้าน
ปี พ.ศ.2547 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการมูลนิธิสถาบันพัฒนาทรัพยากรชุมชน
ปี พ.ศ.2548 เป็นประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยผู้นำชุมชนท้องถิ่น สำนักนายกรัฐมนตรี
ปี พ.ศ.2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คณะกรรมการสมานฉันท์)
ปี พ.ศ.2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (กรรมาธิการการเกษตร ฯลฯ)
ปราชญ์ชาวบ้าน
ประยงค์ รณรงค์
ประวัติส่วนตัว
วัน เดือน ปีเกิด วันที่ 24 สิงหาคม 2480 สถานที่เกิด บ้านเลขที่ 47 หมู่ที่ 5 ต.นากะชะ อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช บิดา มารดา นายห้วง นางแจ้ง รณรงค์ มีพี่น้องรวม 6 คน
นายประยงค์ รณรงค์
นายประยูร รณรงค์
นางเกษร รัตนะ
นายวิโรจน์ รณรงค์
นายปรีชา รณรงค์
นายเชาวลิต รณรงค์
คู่สมรส ภรรยาชื่อ นางแนบ รณรงค์ มีบุตร ธิดา รวม 5 คน
นายเนาวรัตน์ รณรงค์
นายนรินทร์ รณรงค์
นางจริยา โชคประสิทธิ์
นายสาธิต รณรงค์
นาวสาวสุนิสา รณรงค์
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ 51 หมู่ 9 ต.ไม้เรียง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช 80260 โทรศัพท์ 0819560865 อาชีพ อาชีพหลัก ทำสวนยางพารา อาชีพรอง ทำสวนผลไม้ (สวนสมรม) อาชีพเสริม เลี้ยงสัตว์ (ปลา,ไก่พื้นเมือง)
การศึกษา
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนบ้านนาเส ม.5 ต.นากะชะ อ.ฉวาง
ประวัติการศึกษาและการศึกษาดูงาน
-ศึกษาดูงาน ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ปี พ.ศ. 2528 เป็นเวลา 12 วัน
-ศึกษาดูงานด้านสหกรณ์ อุตสาหกรรมชุมชน และเกษตรกรรม ในประเทศฝรั่งเศส – เยอรมนี - เบลเยี่ยม ในปี พ.ศ.2534 เป็นเวลา 30 วัน
-ศึกษาดูงาน “หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์” จังหวัดโออิตะ ประเทศญี่ปุ่น ปี พ.ศ.2544 เป็นเวลา 4 วัน
-ร่วมคณะสร้างความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน ลาว กัมพูชา ปี พ.ศ.4545 เป็นเวลา 3 วัน
-ศึกษาดูงานในประเทศฟิลิปปินส์ ขณะเดินทางไปรับรางวัลรามอน แมกไซไซ ปี พ.ศ.2547 เป็นเวลา 7 วัน
-ศึกษาดูงาน ณ ประเทศภูฏาน ปี พ.ศ.2549 เป็นเวลา 5 วัน
ผลงาน
พ.ศ.2530 ผู้นำอาชีพก้าวหน้าของกระทรวงมหาดไทย
พ.ศ.2537 คนดีศรีสังคม
พ.ศ.2540 เป็นผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมไทย
พ.ศ.2544 ได้รับการยกย่องเป็นครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 1 ของ สกศ.
ประสบการณ์การทำงาน
ปี พ.ศ.2527 เป็นผู้นำการก่อตั้งกลุ่มเกษตรกรทำสวนยางตำบลไม้เรียง
ปี พ.ศ.2530 - 2534 เป็นผู้จัดการกลุ่มเกษตรทำสวนยางไม้เรียง
ปี พ.ศ.2535 - 2547 เป็นประธานกลุ่มเกษตรกรทำสวนยางไม้เรียง
ปี พ.ศ.2535 - ปัจจุบัน เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนไม้เรียง
ปี พ.ศ.2536 เป็นประธานเครือข่ายยมนา (ยาง,ไม้ผล,นาข้าว)
ปี พ.ศ.2539 เป็นผู้นำจัดทำแผนแม่บทชุมชนไม้เรียง อ.ฉวาง จ.นครศรีธรรมราช
ปี พ.ศ.2540 เป็นผู้นำจัดทำแผนแม่บทการพัฒนายางพาราไทย ฉบับประชาชน
ปี พ.ศ.2541 – 2545 เป็นกรรมการบริหารกองทุนเพื่อสังคม (SIF)
ปี พ.ศ.2541 – 2547 เป็นประธานบริษัทเครือข่ายผลิตภัณฑ์อาหาร จำกัด (วิสาหกิจชุมชน)
ปี พ.ศ.2544 – 2546 เป็นกรรมการบริหารโครงการเกษตรกรรมยั่งยืน (DANCED)
ปี พ.ศ.2544 – 2547 เป็นอนุกรรมการประสานงานสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.)
ปี พ.ศ.2544 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการบริหารวิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.)
ปี พ.ศ.2546 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการมูลนิธิหมู่บ้าน
ปี พ.ศ.2547 – ปัจจุบัน เป็นกรรมการมูลนิธิสถาบันพัฒนาทรัพยากรชุมชน
ปี พ.ศ.2548 เป็นประธานคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยผู้นำชุมชนท้องถิ่น สำนักนายกรัฐมนตรี
ปี พ.ศ.2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็นที่ปรึกษาคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ (คณะกรรมการสมานฉันท์)
ปี พ.ศ.2549 ได้รับการแต่งตั้งเป็น สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (กรรมาธิการการเกษตร ฯลฯ)
วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 8
ให้ผู้เรียนสรุปรายงานจากกลุ่มที่ 9-10-11-12 ลงในบล็อกของผู้เรียนอย่างย่อๆ ตอบ สรุปรายงานจากกลุ่มที่ 9 เรื่อง การเขียนโครงการและการบริหารจัดการโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนและสถานศึกษา จึงสรุปได้คือ ปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานราชการ หรือองค์กรเอกชนทั่วไป จะนิยมใช้การเขียนโครงการเป็นเครื่องมือในการพัฒนาหรือแก้ไขปัญหา ดังนั้นบุคลากรในหน่วยงานทุกคน ควรมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถเขียนโครงการเพื่อเสนอของบประมาณได้ความหมายของโครงการ โครงการ คือเค้าโครงของกิจกรรมที่กำหนดไว้เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาตามความต้องการของหน่วยงาน มีลักษณะเป็นแนวทางการดำเนินงานที่บอกถึงความเป็นมา วิธีหรือขั้นตอนการดำเนินงาน ทรัพยากรที่จะใช้ รวมถึงผลสำเร็จที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้มีอำนาจอนุมัติ ตลอดจนผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมองเห็นภาพตลอดแนวและมีทิศทางในการดำเนินงานเดียวกันองค์ประกอบของโครงการ โครงการมีองค์ประกอบหลักๆ อยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนนำและส่วนโครงการ ซึ่งจะนำเสนอ ดังต่อไปนี้
1. ส่วนนำ ส่วนนำโครงการ เป็นส่วนที่เขียนเพื่อให้เข้าใจว่า โครงการนี้ชื่ออะไร มีลักษณะอย่างไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และจะดำเนินการเมื่อไร โดยปกติจะอยู่ส่วนต้นของการเขียนโครงการ ประกอบด้วย
1.1 ชื่อโครงการ การเขียนชื่อโครงการควรบอกได้ว่า จะทำอะไร ทำอย่างไร เรื่องอะไร กับใคร นิยมเขียนโดยขึ้นต้นด้วยคำนาม วิธีการ และตามด้วยเรื่องที่จะทำ เช่น “ การประชุมปฏิบัติการเขียนแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2552 ” เป็นต้น
1.2 แผนงบประมาณ เป็นการระบุที่มาของงบประมาณ ว่าโครงการนี้ ขอใช้งบประมาณในแผนใด เช่น “เงินงบประมาณ เงินอุดหนุน เงินนอกงบประมาณ ”
1.3 สนองกลยุทธ์ เพื่อให้ทราบว่า โครงการนี้ดำเนินงานตามกลยุทธ์ข้อใดของหน่วยงาน เช่น “กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของโรสงเรียนให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ”
1.4 ผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ระบุชื่อ สกุลของผู้รับผิดชอบโครงการ โดยจะระบุตำแหน่งด้วยหรือไม่ก็ได้ เช่น “นางแก้ว กัลยาณี หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม”
1.5 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรระบุ ถึงระดับงาน เช่น “งานแผนงาน โรงเรียนเตรียมอุดม ศึกษาพัฒนาการดอนคลัง”
1.6 ลักษณะของโครงการ โดยทั่วไปจะมี 2 ประเภท ได้แก่
1.6.1 โครงการใหม่ คือโครงการที่จัดทำขึ้นใหม่ ในปีนั้น และสามารถดำเนินการได้เสร็จภายในปีงบประมาณเดียว
1.6.2.โครงการต่อเนื่อง คือโครงการที่มีลักษณะต่อเนื่องจากปีที่แล้วมา อาจเป็นโครงการที่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการที่ต้องต่อยอดขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ก็ได้ เช่น “ปีที่ผ่านมาอบรมอาสมาสมัครป้องกันยาเสพติด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีงบประมาณนี้ขยายผลโดยใช้รูปแบบและวิธีการเดิมกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้น” หรือ “โครงการ 1อำเภอ 1โรงเรียน ในฝัน ที่มีการดำเนินงานเป็นช่วง ๆ เป็นต้น”
1.7 ระยะเวลาในการดำเนินงาน อาจเป็นระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ดังนี้
1.7.1 ปีงบประมาณ นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม ของปีนั้น จนถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป
1.7.2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ วันที่ 16 พฤษภาคม ของปีนั้น จนถึงวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป
2.ส่วนโครงการเป็นส่วนที่กล่าวถึง เนื้อหาของการจัดทำโครงการ ประกอบด้วย
2.1 หลักการและเหตุผล ควรบอกถึงความเป็นมา เหตุผลความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการนี้ ซึ่งอาจมาจาก
2.1.1 นโยบายของรัฐ นโยบายของหน่วยเหนือ หรือนโยบายของหน่วยงานเอง
2.1.2 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สภาพปัญหา
2.1.4 ความต้องการในการพัฒนาควรเขียนให้กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ประมาณ 15-25 บรรทัด และสามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการได้ นิยมเขียนโดยภาพกว้างก่อน เช่น นโยบาย หรือปัญหา แล้วจึงลงมา ถึงตัวโครงการ
2.2 วัตถุประสงค์ เป็นหัวข้อที่สำคัญที่สุดของโครงการ ผู้อนุมัติโครงการจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อนี้เป็นพิเศษ ต้องเขียนให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ มีความเป็นไปได้ วัดได้ เช่น “ เพื่อให้คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการดอนคลัง สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศ สำหรับการเรียนการสอนได้”
2.3 เป้าหมาย ปัจจุบันนิยมเขียนโดยระบุปริมาณหรือคุณภาพที่ต้องการขั้นต่ำ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ จำนวน ร้อยละ หรือระดับคุณภาพ เช่น “จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้เครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ให้กับคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวง จำนวน 20 คน” หรือ “คณะครูโรงเรียน บ้านเปียงหลวง อย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถใช้ระบบเครือข่ายในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนได้ในระดับดี” เป็นต้น
2.4 กิจกรรม / ระยะเวลา มีรูปแบบการเขียนหลายแบบ อยู่ที่ว่าผู้เขียนโครงการจะเลือกใช้แบบใด เช่น ตาราง แบ่งเป็นข้อ แต่จะต้องแสดงกิจกรรม ขั้นตอน ระยะเวลา การทำงานตามลำดับ ให้เห็นว่าจะทำกิจกรรมอะไรบ้าง เมื่อไร ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายกิจกรรมคือใครไว้อย่างชัดเจน เพราะการเพิ่ม ลด งบประมาณจะพิจารณาเป็นรายกิจกรรม ดังนั้นจึงไม่ควรเขียนขั้นตอนหรือกิจกรรมที่กว้างเกินไป เช่น
“1. เสนอโครงการ 2.อนุมัติโครงการ 3. ดำเนินการตามโครงการ 4.สรุปรายงานผล” เพราะการเขียนเช่นนี้จะไม่สามารถพิจารณาได้ว่าโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้างเหมาะสมหรือไม่เพียงใด
2.5 งบประมาณ ต้องบอกรายละเอียดของการใช้งบประมาณแต่ละรายการให้ชัดเจนถูกต้อง เช่น ค่าห้องประชุม กี่วัน วันละเท่าไร ค่าอาหารว่าง หรืออาหารกลางวัน กี่คน กี่วัน คนละเท่าไร ค่าเอกสารกี่เล่ม เล่มละเท่าไร รวมแล้วทั้งหมดเป็นงบประมาณที่จะขอใช้เท่าใด และต้องแยกรายการงบประมาณให้ถูกต้องตามหมวดค่าใช้จ่ายด้วย ได้แก่- ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าอาหารทำการนอกเวลา เป็นต้น- ค่าใช้สอย เช่น ค่าจ้างเหมาบริการ เช่น อาหารว่าง อาหารกลางวัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เช่น เบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าที่พัก เป็นต้น- ค่าวัสดุ เช่น วัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรม และใช้ในการประชุม เช่น กระดาษ กรรไกร กาว แฟ้มเอกสาร เป็นต้น
2.6 การประเมินผล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ทราบว่าโครงการประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด องค์ประกอบของการประเมินผล มีดังนี้- ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป็นตัวตอบคำถามว่าจะวัดความสำเร็จของโครงการจากอะไร เช่น จำนวน ร้อยละ หรือเวลา เช่น “ร้อยละของคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการที่สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศได้ในระดับดี” เป็นต้น- วิธีการ ใช้วิธีการใดในการประเมินผลโครงการ เช่น การสำรวจความคิดเห็น การสังเกต การทดสอบ เป็นต้น- เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ควรสอดคล้องกับวิธีการ เช่น แบบสอบถามความคิดเห็น แบบสำรวจความพึงพอใจ แบบสังเกต แบบทดสอบ เป็นต้น
2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ต้องเขียนให้เห็นว่าจากการทำโครงการนี้จะมีผลประโยชน์ใดเกิดขึ้นบ้าง อาจเป็นผลในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ หรือผลลัพธ์ก็ได้ เช่น “เมื่อคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวงใช้เครือข่ายสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนแล้วจะสามารถยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้นได้”ลักษณะของโครงการที่ดี1. ต้องสอดคล้องและสนองต่อแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน2. กระชับ ไม่เยิ่นเย้อควรอยู่ระหว่าง 3-7 หน้า
3. ใช้ภาษาที่เป็นทางการและเข้าใจได้ง่าย
4. มีความเป็นไปได้
5. วัดและประเมินผลได้
6. มีองค์ประกอบครบถ้วน
7. ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
8. คุ้มค่า
9. แก้ไขปัญหาได้จริง
10. สำเร็จตามเวลาที่กำหนดจากการทำแผนปฏิบัติการของโดยทั่ว ๆ ไป มักพบจุดอ่อนหลาย ประการ เช่นการกำหนดวัตถุประสงค์มักพบว่ามีหลายข้อ จนตรวจสอบได้ยากว่ากิจกรรมใด หรือ ขั้นตอนใด จะบรรลุวัตถุประสงค์ใดการกำหนดเป้าหมายมักพบว่าเป็นเป้าหมายที่วัดความสำเร็จไม่ได้ หรือวัดได้ยากขั้นตอนการดำเนินงานมักเป็นแผนปฏิบัติการ เพื่อไปวางแผนปฏิบัติการอีกทอดหนึ่งกล่าวคือ แผนปฏิบัติการ จะนำเอากระบวนการ P-D-C-Aไปเขียนเป็น ขั้นตอนการปฏิบัติการ เช่น1. ขออนุมัติโครงการ2. วางแผนปฏิบัติการ3. ปฏิบัติการตามแผน 4. สรุปรายงาน เป็นต้นการกำหนดวันปฏิบัติการมักพบว่าเป็นการกำหนดเวลาอย่างกว้างๆ เช่น “ตลอดภาคเรียน” หรือ “ตลอดปี” จนไม่ชัดเจนว่าจะทำอะไร เมื่อไรการกำหนดผู้รับผิดชอบ ไม่รู้ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ หมายเลข 1 เพราะระบุว่า “กลุ่มสาระ.......”หรือ “งาน.............”หากจะสรุปสภาพโดยรวมของแผนปฏิบัติการของโรงเรียนโดยทั่วไป ก็คือ ยังหย่อนความเป็นระบบระเบียบ และความชัดเจน แนวปฏิบัติในการพัฒนาแผนปฏิบัติการของโรงเรียนเพื่อให้แผนปฏิบัติการของโรงเรียน เป็นแผนปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพซึ่งมีตัวชี้วัดคุณภาพ ดังนี้
1. เป็นแผนปฏิบัติการที่อยู่ในกรอบกลยุทธ์ ที่มั่นใจแล้วว่าจะผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
2. เป็นแผนปฏิบัติการที่ไม่มีจุดอ่อนทั้ง 5 ประการ ดังกล่าวข้างต้น
3. เป็นแผนปฏิบัติการที่มีการพิจารณาอย่างรอบคอบ แล้วว่า จะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนหรือ นำไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาการเรียนการสอนสำหรับการบริหารจัดการโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนและสถานศึกษา ควรมีนั้นคือภารกิจพัฒนาโรงเรียน
1. ด้านบุคลากร- ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย- พัฒนาครูและผู้บริหารการศึกษา
2. ด้านพัฒนางานวิชาการ- พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา- การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม- พัฒนาสื่อการเรียนรู้
3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ด้านโครงสร้างและการบริหารจัดการ
5. ด้านการปรับปรุงสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์สิ่งที่โรงเรียนต้องการพัฒนา
2.1 พัฒนาครู ให้เป็นผู้มีความรู้ และสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ( ICT ) , E-Learning และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
2.2 พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล สารสนเทศ การใช้ข้อมูลต่างๆ ที่เอื้อต่อการทำงานของบุคลากร และการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
2.3 พัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอันจะก่อให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ( ICT ) , E-Learning
2.4 พัฒนาโรงเรียน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นที่ยอมรับ ศรัทธา และเป็นต้นแบบของโรงเรียนอื่นและชุมชน
2.5 สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ที่เข้มแข็งของผู้ปกครองและชุมชน
สรุปรายงานจากกลุ่มที่ 10 เรื่องการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาคืออะไรแผนพัฒนาคุณภาพศึกษาเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทที่จะกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาที่กำหนด โดยจัดทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะดำเนินงานตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันนั้น
1. ส่วนนำ ส่วนนำโครงการ เป็นส่วนที่เขียนเพื่อให้เข้าใจว่า โครงการนี้ชื่ออะไร มีลักษณะอย่างไร ใครเป็นผู้รับผิดชอบ และจะดำเนินการเมื่อไร โดยปกติจะอยู่ส่วนต้นของการเขียนโครงการ ประกอบด้วย
1.1 ชื่อโครงการ การเขียนชื่อโครงการควรบอกได้ว่า จะทำอะไร ทำอย่างไร เรื่องอะไร กับใคร นิยมเขียนโดยขึ้นต้นด้วยคำนาม วิธีการ และตามด้วยเรื่องที่จะทำ เช่น “ การประชุมปฏิบัติการเขียนแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2552 ” เป็นต้น
1.2 แผนงบประมาณ เป็นการระบุที่มาของงบประมาณ ว่าโครงการนี้ ขอใช้งบประมาณในแผนใด เช่น “เงินงบประมาณ เงินอุดหนุน เงินนอกงบประมาณ ”
1.3 สนองกลยุทธ์ เพื่อให้ทราบว่า โครงการนี้ดำเนินงานตามกลยุทธ์ข้อใดของหน่วยงาน เช่น “กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการของโรสงเรียนให้มีความคล่องตัว มีประสิทธิภาพ”
1.4 ผู้รับผิดชอบโครงการ ให้ระบุชื่อ สกุลของผู้รับผิดชอบโครงการ โดยจะระบุตำแหน่งด้วยหรือไม่ก็ได้ เช่น “นางแก้ว กัลยาณี หัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม”
1.5 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ควรระบุ ถึงระดับงาน เช่น “งานแผนงาน โรงเรียนเตรียมอุดม ศึกษาพัฒนาการดอนคลัง”
1.6 ลักษณะของโครงการ โดยทั่วไปจะมี 2 ประเภท ได้แก่
1.6.1 โครงการใหม่ คือโครงการที่จัดทำขึ้นใหม่ ในปีนั้น และสามารถดำเนินการได้เสร็จภายในปีงบประมาณเดียว
1.6.2.โครงการต่อเนื่อง คือโครงการที่มีลักษณะต่อเนื่องจากปีที่แล้วมา อาจเป็นโครงการที่ไม่สามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการที่ต้องต่อยอดขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอื่นๆ ก็ได้ เช่น “ปีที่ผ่านมาอบรมอาสมาสมัครป้องกันยาเสพติด สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีงบประมาณนี้ขยายผลโดยใช้รูปแบบและวิธีการเดิมกับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 เป็นต้น” หรือ “โครงการ 1อำเภอ 1โรงเรียน ในฝัน ที่มีการดำเนินงานเป็นช่วง ๆ เป็นต้น”
1.7 ระยะเวลาในการดำเนินงาน อาจเป็นระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ดังนี้
1.7.1 ปีงบประมาณ นับตั้งแต่ 1 ตุลาคม ของปีนั้น จนถึง 30 กันยายน ของปีถัดไป
1.7.2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ วันที่ 16 พฤษภาคม ของปีนั้น จนถึงวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป
2.ส่วนโครงการเป็นส่วนที่กล่าวถึง เนื้อหาของการจัดทำโครงการ ประกอบด้วย
2.1 หลักการและเหตุผล ควรบอกถึงความเป็นมา เหตุผลความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการนี้ ซึ่งอาจมาจาก
2.1.1 นโยบายของรัฐ นโยบายของหน่วยเหนือ หรือนโยบายของหน่วยงานเอง
2.1.2 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2.1.3 สภาพปัญหา
2.1.4 ความต้องการในการพัฒนาควรเขียนให้กระชับ ไม่เยิ่นเย้อ ประมาณ 15-25 บรรทัด และสามารถทำให้ผู้อ่านเข้าใจและเห็นความสำคัญของการจัดทำโครงการได้ นิยมเขียนโดยภาพกว้างก่อน เช่น นโยบาย หรือปัญหา แล้วจึงลงมา ถึงตัวโครงการ
2.2 วัตถุประสงค์ เป็นหัวข้อที่สำคัญที่สุดของโครงการ ผู้อนุมัติโครงการจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้อนี้เป็นพิเศษ ต้องเขียนให้ชัดเจนไม่คลุมเครือ มีความเป็นไปได้ วัดได้ เช่น “ เพื่อให้คณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการดอนคลัง สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศ สำหรับการเรียนการสอนได้”
2.3 เป้าหมาย ปัจจุบันนิยมเขียนโดยระบุปริมาณหรือคุณภาพที่ต้องการขั้นต่ำ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของ จำนวน ร้อยละ หรือระดับคุณภาพ เช่น “จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการใช้เครือข่ายสารสนเทศเพื่อการศึกษา ให้กับคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวง จำนวน 20 คน” หรือ “คณะครูโรงเรียน บ้านเปียงหลวง อย่างน้อยร้อยละ 80 สามารถใช้ระบบเครือข่ายในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนได้ในระดับดี” เป็นต้น
2.4 กิจกรรม / ระยะเวลา มีรูปแบบการเขียนหลายแบบ อยู่ที่ว่าผู้เขียนโครงการจะเลือกใช้แบบใด เช่น ตาราง แบ่งเป็นข้อ แต่จะต้องแสดงกิจกรรม ขั้นตอน ระยะเวลา การทำงานตามลำดับ ให้เห็นว่าจะทำกิจกรรมอะไรบ้าง เมื่อไร ผู้รับผิดชอบในแต่ละรายกิจกรรมคือใครไว้อย่างชัดเจน เพราะการเพิ่ม ลด งบประมาณจะพิจารณาเป็นรายกิจกรรม ดังนั้นจึงไม่ควรเขียนขั้นตอนหรือกิจกรรมที่กว้างเกินไป เช่น
“1. เสนอโครงการ 2.อนุมัติโครงการ 3. ดำเนินการตามโครงการ 4.สรุปรายงานผล” เพราะการเขียนเช่นนี้จะไม่สามารถพิจารณาได้ว่าโครงการมีกิจกรรมอะไรบ้างเหมาะสมหรือไม่เพียงใด
2.5 งบประมาณ ต้องบอกรายละเอียดของการใช้งบประมาณแต่ละรายการให้ชัดเจนถูกต้อง เช่น ค่าห้องประชุม กี่วัน วันละเท่าไร ค่าอาหารว่าง หรืออาหารกลางวัน กี่คน กี่วัน คนละเท่าไร ค่าเอกสารกี่เล่ม เล่มละเท่าไร รวมแล้วทั้งหมดเป็นงบประมาณที่จะขอใช้เท่าใด และต้องแยกรายการงบประมาณให้ถูกต้องตามหมวดค่าใช้จ่ายด้วย ได้แก่- ค่าตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าอาหารทำการนอกเวลา เป็นต้น- ค่าใช้สอย เช่น ค่าจ้างเหมาบริการ เช่น อาหารว่าง อาหารกลางวัน ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ เช่น เบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ค่าที่พัก เป็นต้น- ค่าวัสดุ เช่น วัสดุที่ใช้ในการฝึกอบรม และใช้ในการประชุม เช่น กระดาษ กรรไกร กาว แฟ้มเอกสาร เป็นต้น
2.6 การประเมินผล เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้ทราบว่าโครงการประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด องค์ประกอบของการประเมินผล มีดังนี้- ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป็นตัวตอบคำถามว่าจะวัดความสำเร็จของโครงการจากอะไร เช่น จำนวน ร้อยละ หรือเวลา เช่น “ร้อยละของคณะครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการที่สามารถใช้เครือข่ายสารสนเทศได้ในระดับดี” เป็นต้น- วิธีการ ใช้วิธีการใดในการประเมินผลโครงการ เช่น การสำรวจความคิดเห็น การสังเกต การทดสอบ เป็นต้น- เครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ควรสอดคล้องกับวิธีการ เช่น แบบสอบถามความคิดเห็น แบบสำรวจความพึงพอใจ แบบสังเกต แบบทดสอบ เป็นต้น
2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ต้องเขียนให้เห็นว่าจากการทำโครงการนี้จะมีผลประโยชน์ใดเกิดขึ้นบ้าง อาจเป็นผลในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ หรือผลลัพธ์ก็ได้ เช่น “เมื่อคณะครูโรงเรียนบ้านเปียงหลวงใช้เครือข่ายสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนแล้วจะสามารถยกระดับคุณภาพของผู้เรียนให้สูงขึ้นได้”ลักษณะของโครงการที่ดี1. ต้องสอดคล้องและสนองต่อแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน2. กระชับ ไม่เยิ่นเย้อควรอยู่ระหว่าง 3-7 หน้า
3. ใช้ภาษาที่เป็นทางการและเข้าใจได้ง่าย
4. มีความเป็นไปได้
5. วัดและประเมินผลได้
6. มีองค์ประกอบครบถ้วน
7. ใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
8. คุ้มค่า
9. แก้ไขปัญหาได้จริง
10. สำเร็จตามเวลาที่กำหนดจากการทำแผนปฏิบัติการของโดยทั่ว ๆ ไป มักพบจุดอ่อนหลาย ประการ เช่นการกำหนดวัตถุประสงค์มักพบว่ามีหลายข้อ จนตรวจสอบได้ยากว่ากิจกรรมใด หรือ ขั้นตอนใด จะบรรลุวัตถุประสงค์ใดการกำหนดเป้าหมายมักพบว่าเป็นเป้าหมายที่วัดความสำเร็จไม่ได้ หรือวัดได้ยากขั้นตอนการดำเนินงานมักเป็นแผนปฏิบัติการ เพื่อไปวางแผนปฏิบัติการอีกทอดหนึ่งกล่าวคือ แผนปฏิบัติการ จะนำเอากระบวนการ P-D-C-Aไปเขียนเป็น ขั้นตอนการปฏิบัติการ เช่น1. ขออนุมัติโครงการ2. วางแผนปฏิบัติการ3. ปฏิบัติการตามแผน 4. สรุปรายงาน เป็นต้นการกำหนดวันปฏิบัติการมักพบว่าเป็นการกำหนดเวลาอย่างกว้างๆ เช่น “ตลอดภาคเรียน” หรือ “ตลอดปี” จนไม่ชัดเจนว่าจะทำอะไร เมื่อไรการกำหนดผู้รับผิดชอบ ไม่รู้ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบ หมายเลข 1 เพราะระบุว่า “กลุ่มสาระ.......”หรือ “งาน.............”หากจะสรุปสภาพโดยรวมของแผนปฏิบัติการของโรงเรียนโดยทั่วไป ก็คือ ยังหย่อนความเป็นระบบระเบียบ และความชัดเจน แนวปฏิบัติในการพัฒนาแผนปฏิบัติการของโรงเรียนเพื่อให้แผนปฏิบัติการของโรงเรียน เป็นแผนปฏิบัติการที่มีประสิทธิภาพซึ่งมีตัวชี้วัดคุณภาพ ดังนี้
1. เป็นแผนปฏิบัติการที่อยู่ในกรอบกลยุทธ์ ที่มั่นใจแล้วว่าจะผลสำเร็จตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน
2. เป็นแผนปฏิบัติการที่ไม่มีจุดอ่อนทั้ง 5 ประการ ดังกล่าวข้างต้น
3. เป็นแผนปฏิบัติการที่มีการพิจารณาอย่างรอบคอบ แล้วว่า จะนำไปสู่การยกระดับคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนหรือ นำไปสู่การแก้ปัญหา พัฒนาการเรียนการสอนสำหรับการบริหารจัดการโครงการเพื่อพัฒนานักเรียนและสถานศึกษา ควรมีนั้นคือภารกิจพัฒนาโรงเรียน
1. ด้านบุคลากร- ปรับกระบวนทัศน์บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย- พัฒนาครูและผู้บริหารการศึกษา
2. ด้านพัฒนางานวิชาการ- พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา- การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม- พัฒนาสื่อการเรียนรู้
3. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ด้านโครงสร้างและการบริหารจัดการ
5. ด้านการปรับปรุงสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์สิ่งที่โรงเรียนต้องการพัฒนา
2.1 พัฒนาครู ให้เป็นผู้มีความรู้ และสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ( ICT ) , E-Learning และส่งเสริมให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
2.2 พัฒนาระบบการจัดการข้อมูล สารสนเทศ การใช้ข้อมูลต่างๆ ที่เอื้อต่อการทำงานของบุคลากร และการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
2.3 พัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา รู้จักแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอันจะก่อให้เกิดการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ( ICT ) , E-Learning
2.4 พัฒนาโรงเรียน ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ได้มาตรฐานและเหมาะสมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต เป็นที่ยอมรับ ศรัทธา และเป็นต้นแบบของโรงเรียนอื่นและชุมชน
2.5 สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ที่เข้มแข็งของผู้ปกครองและชุมชน
สรุปรายงานจากกลุ่มที่ 10 เรื่องการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
1. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาคืออะไรแผนพัฒนาคุณภาพศึกษาเป็นข้อตกลงร่วมกันระหว่างสถานศึกษากับชุมชน โดยคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแผนแม่บทที่จะกำหนดเป้าหมายและแนวทางในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในช่วงระยะเวลาที่กำหนด โดยจัดทำไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสถานศึกษาจะดำเนินงานตามข้อตกลงที่กำหนดร่วมกันนั้น
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7 การตกแต่งเวบบอร์ดให้สวยงามและน่าสนใจ
1.การใส่ปฏิทินในเวบบอร์ด
- ค้นหาโค้ดปฏิทินจากเวบgoogle พิมพ์คำว่า code ปฏิทิน
- เลือกเวบที่เกี่ยวข้องเลือก รูปแบบปฏิทินที่ชอบแล้ว copy code
- เปิดบล็อกของตนเองเข้าไปที่รูปแบบ จากนั้นคลิ๊ก ในส่วนองค์ประกอบของหน้า เพิ่ม Gadget คลิ๊กในส่วนของ html /จาวาสคริป นำโค๊ดที่ได้วางไว้ในส่วนของเนื้อหา แล้วกด บันทึก (save) เพื่อยืนยัน2.การใส่นาฬิกา
- ค้นหาโค้ดนาฬิกาจากเวบgoogle พิมพ์คำว่า code นาฬิกา
- เลือกเวบที่เกี่ยวข้องเลือก รูปแบบนาฬิกาที่ชอบแล้ว copy code
- เปิดบล็อกของตนเองเข้าไปที่รูปแบบ จากนั้นคลิ๊ก ในส่วนองค์ประกอบของหน้า เพิ่ม Gadget คลิ๊กในส่วนของ html /จาวาสคริป นำโค๊ดที่ได้วางไว้ในส่วนของเนื้อหา แล้วกด บันทึก (save) เพื่อยืนยัน3.การทำสไลด์
- เข้าwww.slide.com เพื่อสมัครสมาชิก
- เข้าสู่ระบบ โดยการใส่ username และ password ที่ได้สมัครไปข้างต้น
- เมื่อเข้าสู่ระบบแล้วคลิ๊กสร้างการแสดงภาพสไลด์ จากนั้นไปที browse เพื่อเพิ่มรูปภาพที่ต้องการ ซึ่งภาพนี้อาจอยู่ในเครื่องคอมพวิเตอร์ของท่านหรือจากเวบที่ท่านทำการฝากรูปไว้ ทำการ upload รูป
- ปรับตกแต่งให้สวยงามตามความต้องการโดยเลือกรูปแบบ หลากหลาย ขนาด เอ๊ฟเฟกต่างๆ ตามใจชอบ เมื่อเลือกได้ตามที่ต้องการ ให้บันทึก เพื่อรับรหัส code จากนั้น copy code ที่ได้ไปวางไว้ในส่วนของบทความใหม่ หรือใน Gadget ก็ได้. เสร็จแล้ว คลิ๊ก บันทึก เพื่อยืนยันเกร็ดเล็กๆน้อยๆ....หากท่านเข้าเวบwww.slide.comแล้วพบว่าเป็นภาษาอังกฤษ อย่างเพิ่งตกใจ ให้เลื่อนเม้าส์ไปด้านล่างจะมีเมนูให้ท่านเปลี่ยนภาษาได้ .....4. การปรับแต่งสีใน blog
- เปิด blog ของตัวเอง เข้าไปในส่วนของ รูปแบบ จากนั้น คลิ๊ก แบบอักษรและสี สามารถเลือกปรับแต่งสี ในส่วนต่างๆของหน้า blog เมื่อเลือกเสร็จให้คลิ๊ก บันทึกการเปลี่ยนแปลงเพื่อยืนยันเกร็ดเล็กๆน้อยๆ หากท่านเปลี่ยน template ของบล็อก การปรับแต่งสีเป็นสิ่งสำคัญ5. การใส่เพลง - เข้าเวบ
http://happyvampires.gmember.com/home.php?1402 - เลือกเพลงที่ชื่นชอบ copy embed เพื่อนำ code ที่ได้ไปวางไว้ในบล็อกตนเอง- เข้าบล็อกตนเอง ไปวางในส่วนของบทความใหม่
ใบงานที่ 6
ให้นักศึกษาศึกษาวัฒนธรรมองค์กรจากเอกสารและในInternet แล้วแสดงความคิดเห็นในประเด็น
ดังนี้
1.ความหมายวัฒนธรรมองค์กร คืออะไร
ตอบ จากความหมายของคำว่า “วัฒนธรรม” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่าหมายถึง “พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต สร้างขึ้นด้วยกัน เรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน”
ดังนั้นวัฒนธรรมองค์กรก็คือ พฤติกรรมที่สร้างขึ้นจากคนในองค์กรโดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และยึดถือปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ
2.ทำไมหากเราไปเป็นครูสอนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เราควรจะศึกษาอะไรบ้างที่จะทำให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ตอบ เพราะการใช้ชีวิตในเเต่ละภาคย่อมมีความเเตกต่างกันไป แต่สำหรับสามจังหวัดภาคใต้เราควรมีลักษณะที่จะมีศึกษา ดังนี้
1.ศึกษาวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของบุคคลศาสนาที่ประชาชนในที่นั้นนับถือ
2.ศึกษาลักษณะอาชีพส่วนใหญ่ในพื้นที่
3.ศึกษาประเพณี วัฒนธรรมที่มีในพื้นที่
4.ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมความเป็นอยู่
3.รูปแบบวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ การที่จะทำให้เกิดวัฒนธรรมของการทำงานเป็นทีมได้นั้นเราต้องมีหลักดังต่อไปนี้
1.รับฟังมุมมองที่แตกต่าง ไม่อคติ มีใจเป็นกลาง มีเหตุผล ไม่คิดว่า ความคิดของตนเองถูกแล้ว ดีแล้วเสมอ ไม่คิดว่า ความคิดของคนอื่นผิด หรือ ผิดทั้งหมดเสมอ ไม่พูดจาหรือแสดงออกที่เป็นการดูถูกผู้อื่น
2.ไม่ตีกรอบการทำงานของตัวเอง แต่จะพิจารณาถึงเป้าหมาย / หลักการ ถ้าเป็นการเพิ่ม Performance ให้กับตัวเองและส่วนรวม จะลองเอาไปคิดและทำดู
3.ทุกคนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นยอมรับและหาวิธีการที่ผสมผสานให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(ไม่เอาแพ้ – ไม่เอาชนะกัน)
4.ไม่หนีปัญหา แต่จะจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหา
5.ไม่คิดว่า เคยทำอย่างไรมา ก็จะต้องทำอย่างนั้นตลอดไป โดยไม่ดูข้อมูลหรือ ปัจจัยที่เปลี่ยนไป (ไม่ใช่อะลุ่มอล่วยด้วยความรู้สึกเห็นใจ) หากทีมใดกลุ่มใดมีหลักการข้างต้นแล้วจะทำให้เกิดวัฒนธรรมที่ดีและทำให้การทำงานเป็นทีมนั้นประสบความสำเร็จ
4.การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ การเรียนรู้นับว่าเป็นกิจกรรมที่สำคัญของการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการเรียนรู้ในองค์การมีความแตกต่างจากการเรียนรู้ในระบบการศึกษาที่เป็นทางการ เป็นการเรียนรู้ของผู้ใหญ่และเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมการทำงาน ซึ่งแนวคิดและหลักการของการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์การที่สำคัญมีดังนี้
1.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การเรียนรู้ ( learning ) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องอันเนื่องมาจากการฝึกหัดหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ทั้งอย่างที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
2.หลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ทฤษฎีการเรียนการสอนของผู้ใหญ่ ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่าผู้ใหญ่แต่ละคนเป็นผู้ซึ่งมีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ ทฤษฎีดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเชื่อ4ประการ คือ• มโนทัศน์ของผู้เรียน ( Concept of the Learner )• บทบาทของประสบการณ์ของผู้เรียน ( Roles of Learners Experience )• ความพร้อมที่จะเรียนรู้ ( Readiness to Learn )• การนำไปสู่การเรียนรู้ ( Orientation to Learning )
3.ประเภทของการเรียนรู้ประเภทของการเรียนรู้สามารถจำแนกประเภทของการเรียนรู้ออกได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. การเรียนรู้โดยการจำ เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนพยายามจะรวบรวมหรือเก็บเนื้อหาสาระจากสิ่งที่ต้องการจะเรียนให้ได้มากที่สุด
2. การเรียนรู้โดยการเลียนแบบ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดนที่ผู้เรียนพยายามลอกเลียนแบบ หรือกระทำตามต้นแบบที่ตนเห็นว่าดีหรือเป็นประโยชน์แก่ตน
3.การเรียนรู้โดยการหยั่งรู้ ขั้นตอนของการเรียนรู้ประเภทนี้จะเดขึ้น 3 ขั้นดังนี้• ผู้เรียนมองเห็นหรือมีปฏิกิริยาต่อส่วนรวมของสถานการณ์ทั้งหมดก่อน• ผู้เรียนแยกแยะส่วนรวมเพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของส่วนย่อยนั้นๆ• ผู้เรียนเกิดความเข้าใจสถานการณ์นั้นอย่างแจ่มแจ้งเรียกว่า เกิดการหยั่งรู้ ( insight )
4.การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนพยายามใช้ทางเลือกหลายๆ ทางเพื่อแก้ปัญหาหรือสถานการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้น
5.การเรียนรู้โดยการสร้างมโนคติ การเรียนรู้โดยการสร้างความคิดรวบยอดนั้นเกิดจากการทีผู้เรียนมองเห็นลักษณะรวมของสิ่งนั้นก่อน ต่อจากนั้นจึงพิจารณาลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นต่อไป
ดังนี้
1.ความหมายวัฒนธรรมองค์กร คืออะไร
ตอบ จากความหมายของคำว่า “วัฒนธรรม” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ความหมายว่าหมายถึง “พฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิต สร้างขึ้นด้วยกัน เรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน”
ดังนั้นวัฒนธรรมองค์กรก็คือ พฤติกรรมที่สร้างขึ้นจากคนในองค์กรโดยมีการเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และยึดถือปฏิบัติกันมาจนเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในองค์กรนั้น ๆ
2.ทำไมหากเราไปเป็นครูสอนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เราควรจะศึกษาอะไรบ้างที่จะทำให้อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ตอบ เพราะการใช้ชีวิตในเเต่ละภาคย่อมมีความเเตกต่างกันไป แต่สำหรับสามจังหวัดภาคใต้เราควรมีลักษณะที่จะมีศึกษา ดังนี้
1.ศึกษาวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของบุคคลศาสนาที่ประชาชนในที่นั้นนับถือ
2.ศึกษาลักษณะอาชีพส่วนใหญ่ในพื้นที่
3.ศึกษาประเพณี วัฒนธรรมที่มีในพื้นที่
4.ศึกษาภาษาและวัฒนธรรมความเป็นอยู่
3.รูปแบบวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีมเกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ การที่จะทำให้เกิดวัฒนธรรมของการทำงานเป็นทีมได้นั้นเราต้องมีหลักดังต่อไปนี้
1.รับฟังมุมมองที่แตกต่าง ไม่อคติ มีใจเป็นกลาง มีเหตุผล ไม่คิดว่า ความคิดของตนเองถูกแล้ว ดีแล้วเสมอ ไม่คิดว่า ความคิดของคนอื่นผิด หรือ ผิดทั้งหมดเสมอ ไม่พูดจาหรือแสดงออกที่เป็นการดูถูกผู้อื่น
2.ไม่ตีกรอบการทำงานของตัวเอง แต่จะพิจารณาถึงเป้าหมาย / หลักการ ถ้าเป็นการเพิ่ม Performance ให้กับตัวเองและส่วนรวม จะลองเอาไปคิดและทำดู
3.ทุกคนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็นยอมรับและหาวิธีการที่ผสมผสานให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(ไม่เอาแพ้ – ไม่เอาชนะกัน)
4.ไม่หนีปัญหา แต่จะจัดการป้องกันและแก้ไขปัญหา
5.ไม่คิดว่า เคยทำอย่างไรมา ก็จะต้องทำอย่างนั้นตลอดไป โดยไม่ดูข้อมูลหรือ ปัจจัยที่เปลี่ยนไป (ไม่ใช่อะลุ่มอล่วยด้วยความรู้สึกเห็นใจ) หากทีมใดกลุ่มใดมีหลักการข้างต้นแล้วจะทำให้เกิดวัฒนธรรมที่ดีและทำให้การทำงานเป็นทีมนั้นประสบความสำเร็จ
4.การเรียนรู้เกิดขึ้นได้อย่างไร
ตอบ การเรียนรู้นับว่าเป็นกิจกรรมที่สำคัญของการจัดการความรู้ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งการเรียนรู้ในองค์การมีความแตกต่างจากการเรียนรู้ในระบบการศึกษาที่เป็นทางการ เป็นการเรียนรู้ของผู้ใหญ่และเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมการทำงาน ซึ่งแนวคิดและหลักการของการเรียนรู้เกี่ยวกับองค์การที่สำคัญมีดังนี้
1.แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การเรียนรู้ ( learning ) หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องอันเนื่องมาจากการฝึกหัดหรือประสบการณ์ของแต่ละบุคคล ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ทั้งอย่างที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
2.หลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ทฤษฎีการเรียนการสอนของผู้ใหญ่ ตั้งอยู่บนพื้นฐานความเชื่อที่ว่าผู้ใหญ่แต่ละคนเป็นผู้ซึ่งมีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ ทฤษฎีดังกล่าวตั้งอยู่บนพื้นฐานแห่งความเชื่อ4ประการ คือ• มโนทัศน์ของผู้เรียน ( Concept of the Learner )• บทบาทของประสบการณ์ของผู้เรียน ( Roles of Learners Experience )• ความพร้อมที่จะเรียนรู้ ( Readiness to Learn )• การนำไปสู่การเรียนรู้ ( Orientation to Learning )
3.ประเภทของการเรียนรู้ประเภทของการเรียนรู้สามารถจำแนกประเภทของการเรียนรู้ออกได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. การเรียนรู้โดยการจำ เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนพยายามจะรวบรวมหรือเก็บเนื้อหาสาระจากสิ่งที่ต้องการจะเรียนให้ได้มากที่สุด
2. การเรียนรู้โดยการเลียนแบบ เป็นการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดนที่ผู้เรียนพยายามลอกเลียนแบบ หรือกระทำตามต้นแบบที่ตนเห็นว่าดีหรือเป็นประโยชน์แก่ตน
3.การเรียนรู้โดยการหยั่งรู้ ขั้นตอนของการเรียนรู้ประเภทนี้จะเดขึ้น 3 ขั้นดังนี้• ผู้เรียนมองเห็นหรือมีปฏิกิริยาต่อส่วนรวมของสถานการณ์ทั้งหมดก่อน• ผู้เรียนแยกแยะส่วนรวมเพื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของส่วนย่อยนั้นๆ• ผู้เรียนเกิดความเข้าใจสถานการณ์นั้นอย่างแจ่มแจ้งเรียกว่า เกิดการหยั่งรู้ ( insight )
4.การเรียนรู้แบบลองผิดลองถูก เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนพยายามใช้ทางเลือกหลายๆ ทางเพื่อแก้ปัญหาหรือสถานการณ์วิกฤติที่เกิดขึ้น
5.การเรียนรู้โดยการสร้างมโนคติ การเรียนรู้โดยการสร้างความคิดรวบยอดนั้นเกิดจากการทีผู้เรียนมองเห็นลักษณะรวมของสิ่งนั้นก่อน ต่อจากนั้นจึงพิจารณาลักษณะเฉพาะของสิ่งนั้นต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ 5
ท่านจะนำประเด็นต่อไปนี้ไปใช้ในการเป็นครูที่ดีได้อย่างไร พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1.การอยู่ร่วมกันในหอพักนักศึกษา
ตอบ การอยู่หอพักของนักศึกษาเป็นการฝึกการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น เพราะในแต่ละหอพักนั้นจะมีจำนวนนักศึกษาที่แตกต่างกัน และอยู่รวมกันหลายคณะ ดังนั้นการอยู่ในหอพักจึงทำให้เราต้องฝึกความอดทนและฝึกการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น ฝึกการอยู่ในกฎระเบียบของกฎของหอพัก ฝึกการตรงต่อเวลาเพราะแต่ละหอจะต้องมีการประชุมหอพักด้วย ฝึกความสามัคคีกันภายในหอพัก ฝึกการมีน้ำใจและเสียสละแก่ผู้อื่น ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เพราะแต่ละหอจะมีประธารหอพักและคณะกรรมการหอพัก ดังนั้นการอยู่หอพักจึงฝึกหลายหลายด้านให้กับนักศึกษา
ตัวอย่างเช่น
- นำการตรงต่อเวลาที่ใช้ในชีวิตประจำวันของหอพักไปปรับใช้กับการเข้าสอนให้ตรงเวลา หรือตรวจงานของนักเรียนให้ตรงเวลา
- นำการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีไปปรับใช้กับการเป็นข้าราชการที่ของประเทศ หรือเป็นลูกน้องที่ดีของผู้อำนวยการ
- นำการมีน้ำใจและเสียสละไปใช้ในการช่วยเหลือเพื่อนคณะครูด้วยกันภายในโรงเรียนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- นำการอยู่ร่วมกันในหอพักไปใช้ในการอยูร่วมกันในเพื่อนร่วมงานหรือชุมชนและสังคมภายนอก
2.การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
ตอบ การทำงานเป็นกลุ่มเป็นการฝึกการทำงานเป็นทีมที่สมาชิกทุกคนต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ฝึกความรับผิดชอบ เพราะแต่ละคนต้องรับผิดชอบในภาระงานที่ได้รับมอบหมายและทำงานนั้นออกมาให้ดีที่สุด ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ฝึกการให้อภัยซึ่งกันและกัน ฝึกความสามัคคีภายในกลุ่ม เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปใช้ในการทำงานร่วมกันกับเพื่อนรวมงานที่เป็นคุณครูด้วยกัน
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปปรับใช้กับการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีของผู้บังคับบัญชา
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปปรับใช้กับการรับผิดชอบต่อภาระงาน ที่ได้รับมอบหมายไม่ว่าจะเป็นงานสอนก็ต้องสอนให้ครบชั่วโมง หรือสอนให้เต็มความสามารถ หรืองานเกี่ยวกับบริหารจัดการภายในโรงเรียน ก็ต้องทำให้เต็มที่ตามงานที่ได้รับมอบหมาย
3.หากเราทะเลาะกันจะนำหลักการมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ได้อย่างไรตอบ หากเราทะเลาะกันเราควรนำหลักในการสร้างสัมพันธ์ระหว่างบุคคลไปใช้และฝึกฝนใช้อยู่เป็นประจำ ได้แก่ -สร้างความรู้สึกที่ดีต่อผู้อื่น รู้จักเข้าใจ และเห็นใจความรู้สึกของผู้อื่น
-ใช้การสื่อวารที่มีประสิทธิภาพ รู้จักสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ฝึกการเป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดีและไม่ลืมที่จะใส่ใจความรู้สึกของผู้ฟังด้วย -แสดงความมีน้ำใจรู้เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการให้และรับ -ให้เกียรติผู้อื่นอย่างจริงใจ รู้จักยอมรับในความสามารถของผู้อื่น -แสดงความชื่นชมให้กำลังใจซึ่งกันและกันและรู้จักการแสดงออกให้เหมาะสมตามวาระโอกาส ถ้าเรานำหลักการดังนี้ไปใช้แล้ว เราและคนที่เรารู้จักจะไม่เกิดการทะเลาะกันหรือถ้าทะเลาะกันแล้ว แต่นำหลักการนี้ไปใช้ก็จะทำให้ความสัมพันธ์กลับมาเป็นเช่นเดิมได้อย่างแน่นอน
4.แนวคิดเชิงบวกเป็นอย่างไร
ตอบ คือความคิดในทางที่ดี เป็นการมองโลกในแง่ดีเมื่อเจอเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นไม่ว่าจะร้ายแรงหรือไม่ จะเกี่ยวกับเราหรือไม่เราก็ต้องมองสิ่งนั้นในทางที่ดีไว้ก่อน หรือถ้าเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดว่ามีทางแก้ไขมีทางออกจะทำให้เราเป็นคนมีความคิดในเชิงบวกส่งผลให้จิตใจและพฤติกรรมที่แสดงออกเป็นในทิศทางบวกด้วย
ตอบ การอยู่หอพักของนักศึกษาเป็นการฝึกการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น เพราะในแต่ละหอพักนั้นจะมีจำนวนนักศึกษาที่แตกต่างกัน และอยู่รวมกันหลายคณะ ดังนั้นการอยู่ในหอพักจึงทำให้เราต้องฝึกความอดทนและฝึกการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น ฝึกการอยู่ในกฎระเบียบของกฎของหอพัก ฝึกการตรงต่อเวลาเพราะแต่ละหอจะต้องมีการประชุมหอพักด้วย ฝึกความสามัคคีกันภายในหอพัก ฝึกการมีน้ำใจและเสียสละแก่ผู้อื่น ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี เพราะแต่ละหอจะมีประธารหอพักและคณะกรรมการหอพัก ดังนั้นการอยู่หอพักจึงฝึกหลายหลายด้านให้กับนักศึกษา
ตัวอย่างเช่น
- นำการตรงต่อเวลาที่ใช้ในชีวิตประจำวันของหอพักไปปรับใช้กับการเข้าสอนให้ตรงเวลา หรือตรวจงานของนักเรียนให้ตรงเวลา
- นำการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีไปปรับใช้กับการเป็นข้าราชการที่ของประเทศ หรือเป็นลูกน้องที่ดีของผู้อำนวยการ
- นำการมีน้ำใจและเสียสละไปใช้ในการช่วยเหลือเพื่อนคณะครูด้วยกันภายในโรงเรียนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
- นำการอยู่ร่วมกันในหอพักไปใช้ในการอยูร่วมกันในเพื่อนร่วมงานหรือชุมชนและสังคมภายนอก
2.การทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
ตอบ การทำงานเป็นกลุ่มเป็นการฝึกการทำงานเป็นทีมที่สมาชิกทุกคนต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ฝึกความรับผิดชอบ เพราะแต่ละคนต้องรับผิดชอบในภาระงานที่ได้รับมอบหมายและทำงานนั้นออกมาให้ดีที่สุด ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี ฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น ฝึกการให้อภัยซึ่งกันและกัน ฝึกความสามัคคีภายในกลุ่ม เป็นต้น
ตัวอย่างเช่น
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปใช้ในการทำงานร่วมกันกับเพื่อนรวมงานที่เป็นคุณครูด้วยกัน
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปปรับใช้กับการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีของผู้บังคับบัญชา
_ นำการทำงานเป็นกลุ่มไปปรับใช้กับการรับผิดชอบต่อภาระงาน ที่ได้รับมอบหมายไม่ว่าจะเป็นงานสอนก็ต้องสอนให้ครบชั่วโมง หรือสอนให้เต็มความสามารถ หรืองานเกี่ยวกับบริหารจัดการภายในโรงเรียน ก็ต้องทำให้เต็มที่ตามงานที่ได้รับมอบหมาย
3.หากเราทะเลาะกันจะนำหลักการมนุษยสัมพันธ์ไปใช้ได้อย่างไรตอบ หากเราทะเลาะกันเราควรนำหลักในการสร้างสัมพันธ์ระหว่างบุคคลไปใช้และฝึกฝนใช้อยู่เป็นประจำ ได้แก่ -สร้างความรู้สึกที่ดีต่อผู้อื่น รู้จักเข้าใจ และเห็นใจความรู้สึกของผู้อื่น
-ใช้การสื่อวารที่มีประสิทธิภาพ รู้จักสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ฝึกการเป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดีและไม่ลืมที่จะใส่ใจความรู้สึกของผู้ฟังด้วย -แสดงความมีน้ำใจรู้เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักการให้และรับ -ให้เกียรติผู้อื่นอย่างจริงใจ รู้จักยอมรับในความสามารถของผู้อื่น -แสดงความชื่นชมให้กำลังใจซึ่งกันและกันและรู้จักการแสดงออกให้เหมาะสมตามวาระโอกาส ถ้าเรานำหลักการดังนี้ไปใช้แล้ว เราและคนที่เรารู้จักจะไม่เกิดการทะเลาะกันหรือถ้าทะเลาะกันแล้ว แต่นำหลักการนี้ไปใช้ก็จะทำให้ความสัมพันธ์กลับมาเป็นเช่นเดิมได้อย่างแน่นอน
4.แนวคิดเชิงบวกเป็นอย่างไร
ตอบ คือความคิดในทางที่ดี เป็นการมองโลกในแง่ดีเมื่อเจอเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นไม่ว่าจะร้ายแรงหรือไม่ จะเกี่ยวกับเราหรือไม่เราก็ต้องมองสิ่งนั้นในทางที่ดีไว้ก่อน หรือถ้าเป็นปัญหาเราก็ต้องคิดว่ามีทางแก้ไขมีทางออกจะทำให้เราเป็นคนมีความคิดในเชิงบวกส่งผลให้จิตใจและพฤติกรรมที่แสดงออกเป็นในทิศทางบวกด้วย
ใบงานที่ 4
ให้นักศึกษาอธิบายในประเด็นดังนี้
1.หลักการของการทำงานเป็นทีมควรเป็นอย่างไร
ตอบ 1.มีอดุมการณ์ที่แน่นอน และสมาชิกทุกคนยอมรับ
2.ยึดมั่นในความถูกต้อง
3.ใช้หลักการประนีประนอม
4.มีสำนึกในสัดส่วนการปฏิบัติงาน ไม่เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
5.ถือว่าทุกคนมีความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
6.เคารพในสิทธิและเสรีภาพส่วนตัวของสมาชิกในกลุ่ม
7.ถือหลักไม่มุ่งเอาเด่นคนเดียว แต่ต้องดีร่วมกันเป็นทีม
8.รู้จักมองปัญหาให้เป็นเรื่องธรรมดา
9.เปิดใจให้กว้างระหว่างกัน
10.ถือหลักการให้อภัยระหว่างกันเสมอ
11.รู้จักแบ่งงานและประสานงาน
12.มีความเป็นอิสระในการทำงานพอสมควร
13.ถือการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ อย่างเคร่งครัดเสมอ
14.ยอมรับผิดเมื่อทำผิด
15.ยึดถือเสียงส่วนใหญ่
2.มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้การทำงานเป็นทีมประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. บรรยากาศของการทำงานมีความเป็นกันเอง อบอุ่น มีความกระตือรือร้น และสร้างสรรค์ ทุกคน ช่วยกันทำงานอย่างจริงจัง และจริงใจ ไม่มีร่องรอยที่แสดงให้เห็นถึงความเบื่อหน่าย
ตอบ 1.มีอดุมการณ์ที่แน่นอน และสมาชิกทุกคนยอมรับ
2.ยึดมั่นในความถูกต้อง
3.ใช้หลักการประนีประนอม
4.มีสำนึกในสัดส่วนการปฏิบัติงาน ไม่เอาเปรียบซึ่งกันและกัน
5.ถือว่าทุกคนมีความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
6.เคารพในสิทธิและเสรีภาพส่วนตัวของสมาชิกในกลุ่ม
7.ถือหลักไม่มุ่งเอาเด่นคนเดียว แต่ต้องดีร่วมกันเป็นทีม
8.รู้จักมองปัญหาให้เป็นเรื่องธรรมดา
9.เปิดใจให้กว้างระหว่างกัน
10.ถือหลักการให้อภัยระหว่างกันเสมอ
11.รู้จักแบ่งงานและประสานงาน
12.มีความเป็นอิสระในการทำงานพอสมควร
13.ถือการปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ อย่างเคร่งครัดเสมอ
14.ยอมรับผิดเมื่อทำผิด
15.ยึดถือเสียงส่วนใหญ่
2.มีปัจจัยอะไรบ้างที่ทำให้การทำงานเป็นทีมประสบผลสำเร็จ
ตอบ 1. บรรยากาศของการทำงานมีความเป็นกันเอง อบอุ่น มีความกระตือรือร้น และสร้างสรรค์ ทุกคน ช่วยกันทำงานอย่างจริงจัง และจริงใจ ไม่มีร่องรอยที่แสดงให้เห็นถึงความเบื่อหน่าย
2. ความไว้วางใจกัน (Trust) เป็นหัวใจสำคัญของการทำงานเป็นทีม สมาชิกทุกคนในทีมควรไว้วางใจซึ่งกันและกันได้ ซื่อสัตย์ต่อกัน สื่อสารกันอย่างเปิดเผย ไม่มีลับลมคมใน
3. มีการมอบหมายงานอย่างชัดเจน สมาชิกทีมงานเข้าใจวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และยอมรับภารกิจหลักของทีมงาน
4. บทบาท(Role) สมาชิกแต่ละคนเข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทของตน และเรียนรู้เข้าใจในบทบาทของผู้อื่นในทีม ทุกบทบาทมีความสำคัญ รวมทั้งบทบาทในการช่วยรักษาความเป็นทีมงานให้มั่นคง เช่น การประนีประนอม การอำนวยความสะดวก การให้กำลังใจ เป็นต้น
5. วิธีการทำงาน (Work Procedure) สิ่งสำคัญที่ควรพิจารณา คือ
5.1 การสื่อความ (Communication) การทำงานเป็นทีมอาศัยบรรยากาศ การสื่อความที่ชัดเจนเหมาะสม ซึ่งจะทำให้ทุกคนกล้าที่จะเปิดใจ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน จนเกิดความเข้าใจ และนำไปสู่การทำงานที่มีประสิทธิภาพ
5.2 การตัดสินใจ (Decision Making) การทำงานเป็นทีมต้องใช้การตัดสินใจร่วมกัน เมื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกในทีมแสดงความคิดเห็น และร่วมตัดสินใจแล้ว สมาชิกย่อมเกิดความผูกพันที่จะทำในสิ่งที่ตนเองได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น
5.3 ภาวะผู้นำ (Leadership) คือ บุคคลที่ได้รับการยอมรับจากผู้อื่น การทำงานเป็นทีมควรส่งเสริมให้สมาชิกทุกคนได้มีโอกาสแสดงความเป็นผู้นำ (ไม่ใช่ผลัดกันเป็นหัวหน้า) เพื่อให้ทุกคนเกิดความรู้สึกว่าได้รับการยอมรับ จะได้รู้สึกว่าการทำงานเป็นทีมนั้นมีความหมาย ปรารถนาที่จะทำอีก
5.4 การกำหนดกติกา หรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่จะเอื้อต่อการทำงานร่วมกันให้บรรลุเป้าหมาย ควรเปิดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วนร่วม ในการกำหนดกติกา หรือกฎเกณฑ์ที่จะนำมาใช้ร่วมกัน
6. การมีส่วนร่วมในการประเมินผลการทำงานของทีม ทีมงานควรมีการประเมินผลการทำงาน เป็นระยะ ในรูปแบบทั้งไม่เป็นทางการ และเป็นทางการ โดยสมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการประเมินผลงาน ทำให้สมาชิกได้ทราบความก้าวหน้าของงาน ปัญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมทั้งพัฒนากระบวนการทำงาน หรือการปรับปรุงแก้ไขร่วมกัน ซึ่งในที่สุดสมาชิกจะได้ทราบว่าผลงานบรรลุเป้าหมาย และมีคุณภาพมากน้อยเพียงใด 7. การพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง
7.1 พัฒนาศักยภาพทีมงาน ด้วยการสร้างแรงจูงใจทางบวก สมาชิกมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการจัดกิจกรรมสร้างพลังทีมงาน เกิดความมุ่งมั่นที่จะทำงานให้ประสบผลสำเร็จ
7.2 การให้รางวัล ปัจจุบันการพิจารณาผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานไม่เอื้อต่อการทำงานเป็นทีม ส่วนใหญ่จะพิจารณาผลการทำงานเป็นรายบุคคล ดังนั้นระบบรางวัลที่เอื้อต่อการทำงานเป็นทีม คือ การที่ทุกคนได้รางวัลอย่างยุติธรรมทุกคน คือ ควรสนับสนุนการให้รางวัลแก่การทำงานเป็นทีมในลักษณะที่ว่างอยู่บนพื้นฐานการให้รางวัลกับกลุ่ม (Group base reward system)
3.ในฐานะที่ท่านเป็นครูท่านจะนำวิธีการทำงานเป็นทีมไปประยุกต์ใช้กับการสอนได้
ตอบ ในฐานะที่กระผมเป็นครูในอนาคตนั้นกระผมก็จะนำเอาการทำงานเป็นทีมไปประยุกต์กับการสอนโดยจะให้นักเรียนร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งในแต่และกลุ่มก็จะมีทั้งคนเก่งและคนอ่อนคละกันจะทำให้ครูสามารถมองเห็นภาพ “เพื่อนช่วยเพื่อน”เกิดขึ้นมากยิ่งขึ้น ทำให้เพื่อนด้วยกันเกิดความสามัคคีในกลุ่มเพื่อนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังฝึกให้เรียนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีด้วย โดยรูปแบบการสอนจะให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดในการทำงานในแต่ละครั้ง และจะให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวน้ากลุ่ม พร้อมกับตำแหน่งต่างๆ ตามความเหมาะสมของกลุ่ม หรือมตามมติกลุ่ม ซึ่งงานแต่ละครั้งก็จะให้นำเสนอผลงานของกลุ่ม พร้อมกับประเมินผลงานของกลุ่มตนเองและกลุ่มเพื่อนด้วย และก่อนสอบก็จะจัดให้มีการติวกันทั้งแบบติวกันภายในกลุ่มและแบบข้ามกลุ่ม
3.ในฐานะที่ท่านเป็นครูท่านจะนำวิธีการทำงานเป็นทีมไปประยุกต์ใช้กับการสอนได้
ตอบ ในฐานะที่กระผมเป็นครูในอนาคตนั้นกระผมก็จะนำเอาการทำงานเป็นทีมไปประยุกต์กับการสอนโดยจะให้นักเรียนร่วมกันทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งในแต่และกลุ่มก็จะมีทั้งคนเก่งและคนอ่อนคละกันจะทำให้ครูสามารถมองเห็นภาพ “เพื่อนช่วยเพื่อน”เกิดขึ้นมากยิ่งขึ้น ทำให้เพื่อนด้วยกันเกิดความสามัคคีในกลุ่มเพื่อนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังฝึกให้เรียนเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีด้วย โดยรูปแบบการสอนจะให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดในการทำงานในแต่ละครั้ง และจะให้แต่ละกลุ่มเลือกหัวน้ากลุ่ม พร้อมกับตำแหน่งต่างๆ ตามความเหมาะสมของกลุ่ม หรือมตามมติกลุ่ม ซึ่งงานแต่ละครั้งก็จะให้นำเสนอผลงานของกลุ่ม พร้อมกับประเมินผลงานของกลุ่มตนเองและกลุ่มเพื่อนด้วย และก่อนสอบก็จะจัดให้มีการติวกันทั้งแบบติวกันภายในกลุ่มและแบบข้ามกลุ่ม
ใบงานที่ 3 มนุษยสัมพันธ์ในองค์การ
1.ความหมายองค์และองค์การ
ตอบ องค์กร(Organ) หมายถึง บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วยส่วนประกอบย่อยของหน่วยใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กัน หรือขึ้นต่อกันและกัน
องค์การ(Organization) หมายถึง การเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมที่ร่วมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือ กิจการที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงานเดียวกัน เพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมาย หรือตราสารจัดตั้ง ซึ่งอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องค์การของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทจำกัด สมาคม หรือหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ สรุป องค์กรเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
2.องค์ประกอบของการสื่อสาร
ตอบ การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้จะต้องมีองค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน องค์ประกอบที่สำคัญในการสื่อสารที่สำคัญมีด้วยกัน 4 ประการ หากขาดองค์ประกอบใดประการใดประหนึ่ง การสื่อสารจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย องค์ประกอบดังกล่าว มีดังนี้
1. แหล่งสารหรือผู้ใส่รหัสสาร หมายถึง บุคคล หรือหน่วยงานที่เป็นผู้สร้างสาร หรือเป็นแหล่งกำเนิดของสาร แล้วส่งสารนั้นไปยังบุคคลอื่น หรือยังหน่วยงานอื่นด้วยวิธีการใด
วิธีการหนึ่ง
2. ผู้รับสารหรือผู้ถอดรหัส ในกระบวนการสื่อสารบุคคลที่เป็นแหล่งสารและบุคคลที่เป็นผู้รับสารมีความคลายคลึงกันมาก ทั้งสองฝ่ายจึงผลัดกันรับและส่งสาร
3. สาร หมายถึงสิ่งที่เป็นผลิตผลของผู้ส่งสาร เช่น มือเราพูด คำพูดก็จะเป็นสาร และหากเราเขียน งานที่เขียนก็คือสาร
4.ช่องทางการสื่อสาร
3.การสื่อสารมีช่องสื่อสารอย่างไรบ้าง
ตอบ การสื่อสารจำแนกช่องสื่อสารได้หลายแขนงต่างๆ ดังนี้
1. จำแนกตามพาหะของสาร ได้แก่ คลื่นแสง คลื่นเสียง
2. จำแนกตามสื่อสาธารณชน ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และเวทีการแสดง
วิธีการจำแนกอีกวิธีหนึ่ง คือ จำแนกตามประสิทธิภาพการรับรู้ โดยผู้ส่งสารจะเป็นผู้พิจารณาจะใช้สื่อแบบใดจึงจะเหมาะสม
4.วัตถุประสงค์ของการสื่อสารมีอะไรบ้าง
ตอบ วัตถุประสงค์ของการสื่อสารสามารถสรุปได้ดังนี้
1.เพื่อแจ้งให้ทราบหรือเพื่อทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร ข้อมูล เหตุการณ์ ความคิด ความต้องการของตนให้ผู้รับได้ทราบ
ตอบ องค์กร(Organ) หมายถึง บุคคล คณะบุคคล หรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน เช่น คณะรัฐมนตรีเป็นองค์กรบริหารของรัฐ สภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรของรัฐสภา ในบางกรณี องค์กร หมายความรวมถึงองค์การด้วยส่วนประกอบย่อยของหน่วยใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กัน หรือขึ้นต่อกันและกัน
องค์การ(Organization) หมายถึง การเป็นศูนย์กลางของกิจกรรมที่ร่วมประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือ กิจการที่ประกอบกันขึ้นเป็นหน่วยงานเดียวกัน เพื่อดำเนินกิจการตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ในกฎหมาย หรือตราสารจัดตั้ง ซึ่งอาจเป็นหน่วยงานของรัฐ เช่น องค์การของรัฐบาล หน่วยงานเอกชน เช่น บริษัทจำกัด สมาคม หรือหน่วยงานระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ สรุป องค์กรเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ
2.องค์ประกอบของการสื่อสาร
ตอบ การสื่อสารจะเกิดขึ้นได้จะต้องมีองค์ประกอบหลายอย่างด้วยกัน องค์ประกอบที่สำคัญในการสื่อสารที่สำคัญมีด้วยกัน 4 ประการ หากขาดองค์ประกอบใดประการใดประหนึ่ง การสื่อสารจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย องค์ประกอบดังกล่าว มีดังนี้
1. แหล่งสารหรือผู้ใส่รหัสสาร หมายถึง บุคคล หรือหน่วยงานที่เป็นผู้สร้างสาร หรือเป็นแหล่งกำเนิดของสาร แล้วส่งสารนั้นไปยังบุคคลอื่น หรือยังหน่วยงานอื่นด้วยวิธีการใด
วิธีการหนึ่ง
2. ผู้รับสารหรือผู้ถอดรหัส ในกระบวนการสื่อสารบุคคลที่เป็นแหล่งสารและบุคคลที่เป็นผู้รับสารมีความคลายคลึงกันมาก ทั้งสองฝ่ายจึงผลัดกันรับและส่งสาร
3. สาร หมายถึงสิ่งที่เป็นผลิตผลของผู้ส่งสาร เช่น มือเราพูด คำพูดก็จะเป็นสาร และหากเราเขียน งานที่เขียนก็คือสาร
4.ช่องทางการสื่อสาร
3.การสื่อสารมีช่องสื่อสารอย่างไรบ้าง
ตอบ การสื่อสารจำแนกช่องสื่อสารได้หลายแขนงต่างๆ ดังนี้
1. จำแนกตามพาหะของสาร ได้แก่ คลื่นแสง คลื่นเสียง
2. จำแนกตามสื่อสาธารณชน ได้แก่ หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ และเวทีการแสดง
วิธีการจำแนกอีกวิธีหนึ่ง คือ จำแนกตามประสิทธิภาพการรับรู้ โดยผู้ส่งสารจะเป็นผู้พิจารณาจะใช้สื่อแบบใดจึงจะเหมาะสม
4.วัตถุประสงค์ของการสื่อสารมีอะไรบ้าง
ตอบ วัตถุประสงค์ของการสื่อสารสามารถสรุปได้ดังนี้
1.เพื่อแจ้งให้ทราบหรือเพื่อทราบ หมายถึง การสื่อสารที่ผู้ส่งสารจะแจ้ง หรือบอกกล่าวข่าวสาร ข้อมูล เหตุการณ์ ความคิด ความต้องการของตนให้ผู้รับได้ทราบ
2.เพื่อสอนหรือให้การศึกษา หมายถึง การสื่อสารที่มุงจะให้ผู้รับมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางด้านองค์ความรู้ ความคิด สติปัญญา ฉะนั้นจึงมุ่งไปที่การเรียนการสอน หรือการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการ โดยเฉพาะ
3.เพื่อสร้างความพอใจหรือให้ความบันเทิง หมายถึง การสื่อสารที่มุ่งให้เกิดผลทางจิตใจหรืออารมณ์ ความรู้สึกแก่ผู้รับสาร ซึ่งจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ส่งสารมีข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับสาร และมีกลวิธีนำเสนอเป็นที่พอใจ
4.เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ มุ่งเน้นให้ผู้รับสารมีพฤติกรรมคล้อยตาม หรือยอมรับปฏิบัติตาม
5.ในฐานะที่เป็นนักศึกษาครูจะนำวิธีการสื่อสารไปใช้ได้อย่างไร
ตอบ ในปัจจุบันกระผมก็เป็นนักศึกษาครูคนหนึ่งซึ่งสามารถนำวิธีการสื่อสารไปใช้ในชีวิตต่างมากมาย อาทิ การสอน การสื่อสารระหว่างกลุ่มเพื่อนด้วยกัน การสื่อสารระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ผู้สอนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับข่าวสาร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนเพื่อให้ความบันเทิงหรือเพื่อชักจูงใจ ผู้รับสารด้วยกัน ทั้งนี้ก็แล้วแต่วัตถุประสงค์ของการสื่อสารนั้น
ในระยะเวลาอันครั้งนี้กระผมก็ต้องไปเป็นคุณครูซึ่งจะต้องเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้กับนักเรียนดังนั้นการจะพูดจะสอนอะไรแต่ละอย่างนั้นก็ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนรอบคอบเสียก่อน เพื่อจะทำให้สิ่งที่พูดออกไปนั้นเป็นประโยชน์มากที่สุด และที่สำคัญที่สุดการสื่อสารก็เป็นหัวใจของการสอนเช่นกัน
4.เพื่อเสนอหรือชักจูงใจ มุ่งเน้นให้ผู้รับสารมีพฤติกรรมคล้อยตาม หรือยอมรับปฏิบัติตาม
5.ในฐานะที่เป็นนักศึกษาครูจะนำวิธีการสื่อสารไปใช้ได้อย่างไร
ตอบ ในปัจจุบันกระผมก็เป็นนักศึกษาครูคนหนึ่งซึ่งสามารถนำวิธีการสื่อสารไปใช้ในชีวิตต่างมากมาย อาทิ การสอน การสื่อสารระหว่างกลุ่มเพื่อนด้วยกัน การสื่อสารระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ผู้สอนเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อแจ้งให้ทราบเกี่ยวกับข่าวสาร หรือเหตุการณ์ต่างๆ ตลอดจนเพื่อให้ความบันเทิงหรือเพื่อชักจูงใจ ผู้รับสารด้วยกัน ทั้งนี้ก็แล้วแต่วัตถุประสงค์ของการสื่อสารนั้น
ในระยะเวลาอันครั้งนี้กระผมก็ต้องไปเป็นคุณครูซึ่งจะต้องเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้กับนักเรียนดังนั้นการจะพูดจะสอนอะไรแต่ละอย่างนั้นก็ต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนรอบคอบเสียก่อน เพื่อจะทำให้สิ่งที่พูดออกไปนั้นเป็นประโยชน์มากที่สุด และที่สำคัญที่สุดการสื่อสารก็เป็นหัวใจของการสอนเช่นกัน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ภาวะผู้นำในการบริหารการศึกษา
1. นักศึกษาให้ความหมาย ผู้นำ ผู้บริหาร เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
ตอบ ผู้นำกับผู้บริหารแตกต่างกันที่
ผู้นำ คือ บุคคลที่มีความ สามารถในการใช้อิทธิพลให้คนอื่นทำงานในระดับต่าง ๆ ที่ต้องการให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (McFarland,1979:214-215) ผู้นำ คือ ผู้ที่สามารถในการชักจูงให้คนอื่นทำงานให้สำเร็จตามต้องการ (Huse, 1978:227)
ผู้นำ คือ บุคคลที่มีอิทธิพลสูงสุดในกลุ่ม และเป็นผู้ที่ต้องปฏิบัติภาระหน้าที่ของตำแหน่งผู้นำที่ได้รับมอบหมายบุคคลอื่นในกลุ่มที่เหลือก็คือผู้ตาม แม้จะเป็นหัวหน้ากลุ่มย่อย หรือผู้ช่วยในการปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ก็ตาม (Yukl, 1989:3-4)
สรุปได้ว่า ผู้นำ (Leader) คือบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งหรือการเลือกตั้งหรือการยกย่องจากกลุ่มให้ทำหน้าที่ของตำแหน่งผู้นำ เช่น การชี้แนะ สั่งการ และช่วยเหลือให้กลุ่มสามารถปฏิบัติงานได้สำเร็จตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ได้มีการเขียนชื่อผู้นำแตกต่างกันออกไปตามลักษณะงานและองค์การที่อยู่ เช่น ผู้บริหาร ผู้จัดการ ประธานกรรมการ ผู้อำนวยการ อธิการบดี ผู้บัญชาการเหล่าทัพ ผู้ว่าราชการ นายอำเภอ กำนัน เจ้าคณะจังหวัด เจ้าอาวาส ปลัดกระทรวง
ส่วนผู้บริหาร คือ ผู้ที่แบ่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาตามความรู้ความสามารถ แล้วนิเทศงานอย่างเป็นระบบ พร้อมให้คำแนะนำอย่างเหมาะสม เพื่อให้งานบรรลุผลอย่างมีคุณภาพ
2. นักศึกษาสรุปบทบาทและภาระหน้าที่ของผู้นำ
ตอบ บทบาทของผู้นำ
1. การชี้ขาด เมื่อมีปัญหาหรือความขัดแย้งเกิดขึ้น จะต้องเป็นผู้ชี้ขาด
2. การเสนอแนะ หาโอกาสเสนอแนะผู้ใต้บังคับบัญชา โดยหลีกเลี่ยงการใช้คำสั่ง เพื่อรักษาการมีส่วนร่วมเอาไว้
3. การให้เป้าหมาย เป้าหมายขององค์การไม่ได้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ แต่จะถูกกำหนดโดยที่ผู้นำกับเพื่อนสมาชิกทุกนในองค์การนั้น
4. การกระตุ้น ผู้นำจะต้องเป็นผู้กระตุ้นให้บุคลากรทุกคนในองค์การปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถ และขณะเดียวกันก็สร้างขวัญและกำลังใจในกรปฏิบัติงานด้วย
5. การให้ความมั่นคงด้านการรักษาเจตคติในทางที่ดี และมองโลกในแง่ดีไว้เมื่อเผชิญกับปัญหา
6. การเป็นตัวแทน ผู้นำจะเป็นสัญลักษณ์ของกลุ่มในองค์การ การประพฤติปฏิบัติตัวจะต้องระมัดระวัง เพราะจะมีผลกระทบไปถึงกลุ่มบุคคลในองค์การนั้น
7. การดลใจ ผู้นำจะต้องให้ทุกคนภายในองค์การเห็นคุณค่าและความสำคัญของงาน และให้บริสุทธิ์ใจ
ภาระหน้าที่ของผู้นำ
1. หน้าที่ความรับผิดชอบต่อองค์การ ถือว่า เป็นหน้าที่ต้องกระทำในฐานเป็นผู้นำกลุ่ม ได้แก่ 1.1 กำหนดเป้าหมาย
1.2 วางแผน
1.3 ติดตามงานอยู่เสมอ พบข้อบกพร่องต้องรีบแก้ไข
1.4 เสริมสร้างให้ปริมาณและคุณภาพของงานได้รับผลสูงสุด
1.5 ให้ความเสมอภาคกับผู้มาติดต่อ
1.6 วางตนเหมาะสม มีกิริยามารยาทเรียบร้อย
2. หน้าที่ต่อผู้ตามหรือผู้ใต้บังคับบัญชา ในฐานะหัวหน้างาน ผู้นำย่อมมีหน้าที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ด้าน คือ
2.1 งานบริหาร
2.2 งานปกครอง
2.3 งานฝึกอบรม
3. หน้าที่ต่อหน่วยงานอื่น โดยการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
4. หน้าที่ต่อตัวเอง
มีดังนี้ 4.1 สอนตัวเองให้เป็นผู้นำทีดี 4.2 รับผิดชอบงานในหน้าที่ให้ดีที่สุด
4.3 ปฏิบัติตนให้เข้ากับสังคมได้ดี 4.4 ศึกษาหาความรู้ ปรับปรุงตนเองให้ทันสมัยอยู่เสมอ
4.5 ขยันในการทำงาน อุทิศเวลาให้งานให้หน้าที่ 4.6 กล้ายอมรับผิด 4.7 ตรงต่อเวลา
3. นักศึกษาจะมีวิธีการพัฒนาภาวะผู้นำของนักศึกษาได้อย่างไร
ตอบ ข้าพเจ้าคิดว่าการพัฒนาภาวะผู้นำที่มีดังนี้การเป็นผู้นำที่ดีนั้น จะต้องพัฒนา ตัวเองอยู่เสมอให้นำหน้าบุคคลอื่น โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ใต้บังคับบัญชาของตัวเอง พัฒนาตัวเองให้ทันสมัยทันเหตุการณ์อยู่เสมอ การพัฒนา ภาวะผู้นำอาจทำได้ ดังนี้1. เรียนจากงานที่ทำ ส่วนมากเวลาเราไปศึกษาดูงานจากสถานศึกษา มักจะดู Product (ผลงาน) มากกว่า เช่น เราไปดูโรงเรียนดีเด่น ผู้บริหารของโรงเรียนดีเด่น มักจะไม่ดูว่าเขาทำอย่างไรจึงได้รับความสำเร็จเป็นโรงเรียนดีเด่น คือเราไม่ดูกระบวนการ (Process) หรือ วิธีการ อย่าลืมว่า งานยิ่งท้าทายมากเท่าไรคนยิ่งใช้ความพยายามมากขึ้น คนยิ่งกระตือรือร้นยิ่งขึ้น เป็นการท้ายทายกระตุ้นความสามารถยิ่งขึ้น2. เรียนจากผู้อื่น ผู้นำต้องพร้อมที่จะเรียน พร้อมที่จะเป็นพี่เลี้ยงที่ดี ผู้ใดที่อยู่ในกลุ่มคนเรียนเก่งก็จะเก่งไปด้วย แต่ตรงข้ามถ้าอยู่ในกลุ่มของคนเรียนอ่อนก็พลอยเป็นคนเรียนอ่อนไปด้วย เหมือนคำโบราณที่กล่าวว่า “คบคนพาลพาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล”3. เรียนจากนาย ถ้าเราได้นายดี เราจะเรียนรู้อะไรมากมายจากนาย ตรงข้ามถ้านายเราไม่ดี เราก็พลอยแย่ไปด้วย ผู้นำที่ดีจะต้องเป็นนายที่ดีของลูกน้อง หรือผู้ใต้บังคับบัญชาด้วย การเรียนจากบทบาทแบบอย่าง (Roles) จะทำให้ผู้นำพัฒนาภาวะผู้นำมากยิ่งขึ้น ผู้นำหลายคนเรียนรู้จากความผิดพลาดของตัวเอง ซึ่งความผิดพลาดจะกลายเป็นบทเรียนชั้นดี4. การฝึกอบรมและปฏิบัติการ เป็นสิ่งที่ผู้นำจะพัฒนาภาวะผู้นำของตัวเองได้ การฝึกอบรม (Training) มีอยู่ 4 รูปแบบคือ4.1 ผู้นำคำใหม่ ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งใหม่ เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น จะต้องมีการฝึกอบรม เช่น ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ จะมีการฝึกอบรมก่อนจะเข้ารับตำแหน่งเสมอ4.2 การพัฒนาการวิธีการจัดการ การฝึกอบรมจะเน้นทักษะในการทำงาน จะต้องทำให้ดีกว่า เน้นความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง เช่น เมื่อมีกฎ ระเบียบ ออกมาใหม่ จะต้องเข้าอบรมเสียก่อน จะต้องฝึกให้เป็นผู้เชี่ยวชาญ ผู้นำก็เช่นเดียวกัน ถ้ารู้กฎ ระเบียบ แบบแผน กฎเกณฑ์ ข้อมูลใหม่ ๆ ท่านสามารถให้คำแนะนำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านได้4.3 เพิ่มพูนภาวะผู้นำ หรือความเป็นผู้นำ หมายถึง ฝึกความสามารถ4.4 ฝีกสิ่งสำคัญของภาวะผู้นำ หรือความเป็นผู้นำ หมายถึง ทุกคนรักความก้าวหน้า จะฝึกอย่างไรให้เขามีความก้าวหน้าเพราะทุกคนต้องการ(4.) นักศึกษากล่าวถึงภาวะผู้นำสมัยใหม่จะต้องมีวิธีคิดอย่างไรตอบ ในปัจจุบัน ยังมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำอยู่ตลอดเวลา จึงเกิดเป็นแนวคิดที่สำคัญๆ ดังนี้1.ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยนและแบบเปลี่ยนแปลง (Transactional and Transformational Leadership) ผู้นำแบบแลกเปลี่ยน คือ ผู้นำแบบเดิมที่ใช้การแลกเปลี่ยนโดยรางวัลต่างๆ เป็นเครื่องมือในการชักจูงให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติงานให้ได้ตามเป้าหมายที่ต้องการ ซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ได้รับผลประโยชน์ที่แลกเปลี่ยนกัน ส่วนผู้นำแบบเปลี่ยนแปลงนั้น จะใช้ความสามารถเปลี่ยนความเชื่อ ทัศนคติของสมาชิก เพื่อให้สมาชิกทำงานได้บรรลุเหนือกว่าเป้าหมายที่ต้องการ โดยผู้นำจะถ่ายทอดความคิด ประสบการณ์ และกระตุ้นทางด้านความคิดต่างๆให้แก่สมาชิกอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ2.ทฤษฎีความสามารถพิเศษของผู้นำ (Charismatic theory) เป็นการกล่าวถึงบุคลิกภาพของผู้นำที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างไปจากบุคคลอื่น รังสรรค์ ประเสริฐศรี กล่าวว่า ผู้นำที่มีความสามารถพิเศษ ควรมีลักษณะดังนี้ คือ เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ มีความสามารถด้านทักษะการสื่อสาร ความสามารถที่ทำให้ผู้อื่นไว้วางใจ ความสามารถทำให้ผู้อื่นเห็นว่าตนเองมีความสามารถ มีพลังและมุ่งการปฏิบัติให้บรรลุผล แสดงอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมและเอื้ออาทรแก่ผู้อื่น ชอบที่เสี่ยง สร้างกลยุทธ์ใหม่ๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย มีการโฆษณาตัวเอง และทำให้การขัดแย้งภายในเกิดขึ้นน้อยที่สุด กระแสในปัจจุบันได้มุ่งให้ความสนใจกับ ภาวะผู้นำแบบเปลี่ยนแปลง (Transformational Leadership) และภาวะผู้นำที่มีความสามารถพิเศษ (Charismatic leadership) ซึ่งแนวคิดเหล่านี้ได้พยายามอธิบายว่า ผู้นำประสบความสำเร็จในระดับสูงในการจูงใจสมาชิก
4. นักศึกษากล่าวถึงภาวะผู้นำสมัยใหม่จะต้องมีวิธีคิดอย่างไร
ตอบ ผู้นำสมัยใหม่จะต้องมีแนวคิดดังนี้
1. จะต้องมีความฉลาด ผู้นำจะต้องมีระดับความรู้และสติปัญญาโดยเฉลี่ยสูงกว่าบุคคลที่ให้เขาเป็น
ผู้ตาม ถึงแม้จะไม่แตกต่างกันมาก เพราะผู้นำจะต้องมีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง 2. จะต้องวุฒิภาวะทางสังคมและใจกว้าง คือจะต้องมีความสนใจสิ่งต่าง ๆ รอบ ๆ ตัว อย่างกว้างขวาง มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ จะต้องยอมรับสภาพต่าง ๆ ไม่ว่าแก้หรือชนะ ไม่ว่าผิดหวังหรือสำเร็จ
3. จะต้องมีแรงจูงใจภายใน ผู้นำจะต้องมีแรงจูงใจภายในสูง และจะต้องมีแรงขับที่จะทำอะไรให้ดีเด่น ให้สำเร็จอยู่เรื่อย ๆ เมื่อทำสิ่งหนึ่งสำเร็จก็ต้องการที่จะทำสิ่งอื่นต่อไป
4. จะต้องมีเจตคติเกี่ยวกับมนุษยสัมพันธ์ ผู้นำที่ประสบผลสำเร็จนั้น เขายอมรับอยู่เสมอว่า งานที่สำเร็จนั้นมีคนอื่นช่วยทำ ไม่ใช่เขาทำเอง 5.มีความรู้เท่าทันในสถานการณ์
6 .มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ปัญหา แก้ปัญหาและตัดสินใจ
7.มีพฤติกรรมกล้าเสี่ยง
8.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
9.มีความรู้สึกไวต่อบุคคลอื่น
10.มีความใฝ่รู้และฝึกฝนการเรียนรู้
5. นักศึกษาคิดว่า ประสิทธิภาพของภาวะผู้นำที่ดีควรทำอย่างไร
ตอบ ประสิทธิภาพของภาวะผู้นำที่ดีนั้นจะต้องมีควรทำ ดังนี้
1.ต้องเป็นนักเผด็จการ หมายถึงผู้บริหารสามารถจะสั่งการได้อย่างเด็ดขาด ผลผลิตที่ได้มาส่วนใหญ่จะมาด้วยปริมาณ ส่วนเรื่องคุณภาพที่จะดีในช่วงแรก ๆ หากผู้นำสามารถสอดส่องดูแลอยู่ตลอดเวลา ผลผลิตก็อาจจะมีทั้งปริมาณและคุณภาพที่ดีตามไปด้วย
2. ต้องเป็นนักพัฒนา ผู้นำประเภทนี้จะต้องมีผู้ร่วมงานที่รู้ใจ สามารถสร้างสรรงานใหม่ ๆ ตลอดเวลา
3 .ต้องเป็นนักบริหาร ผู้นำประเภทนี้จะใช้การทำงานด้วยวิธีใหม่ ๆ เปิดโอกาสให้สมาชิกได้ร่วมแสดงความคิดเห็นแม้กระทั่งในการวางนโยบายต่าง ๆ การทำงานโดยทั่วไปจึงเป็นไปในลักษณะประชาธิปไตย ผู้ร่วมงานจะต้องเป็นผู้มีคุณภาพเพียงพอ สามารถตอบสนองการทำงานในระบบใหม่ ๆ ได้เป็นอย่างดี
4.ต้องเป็นนักเผด็จการอย่างมีศิลปะ ผู้นำประเภทนี้เป็นนักพูดที่เฉลียวฉลาด จะใช้การพูดเป็นการชักชวนให้เกิดการทำงานด้วยความเต็มใจ มีการเสนอแนะและหว่านล้อม ให้เห็นคล้อยตามไปโดยปริยาย
นอกจากนี้ผู้นำที่ดีนั้นจะต้องรู้จักการนำหลักธรรมมาบริหารบุคคลด้วย ได้แก่ ทศพิธราชธรรม 10 ประการ, อธิษฐานธรรม 4, พรหมวิหารธรรม 4, อคติ 4, คหิสุข 4, สังคหะวัตถุ 4, ขันติโสรัจจะ หิริโอตัปปะ, อิทธิบาท 4, เวสารัธชกรณะ 5, ยุติธรรม 5, อปริหานิยธรรม 7, นาถกรณธรรม 10, กัลยาณมิตรธรรม 7 และบารมี 10 ประการ (ทศบารมี) ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารและจัดการสมัยใหม่ได้
วันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2553
ใบงานที่ ๑
ทฤษฎีและหลักการจัดการบริหารการศึกษา
ตอบ การบริหาร หมายถึง กระบวนการทำงานร่วมกับผู้อื่นเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ (Sergiovanni)
การบริหาร หมายถึง การทำงานของคณะบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่รวมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน (Barnard)
การบริหาร หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปร่วมมือกันดำเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างหนึ่งอย่างใดหรือหลายๆอย่างที่บุคคลร่วมกันกำหนดโดยใช้กระบวนอย่างมีระบบและให้ทรัพยากรตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม
การบริหารการศึกษา หมายถึง กิจกรรมต่างๆ ที่บุคคลหลายคนร่วมกันดำเนินการ เพื่อพัฒนาสมาชิกของสังคมในทุกๆ ด้าน นับแต่ บุคลิกภาพ ความรู้ ความสามารถ เจตคติ พฤติกรรม คุณธรรม เพื่อให้มีค่านิยมตรงกันกับความต้องการของสังคม โดยกระบวนการต่างๆ ที่อาศัยควบคุมสิ่งแวดล้อมให้มีผลต่อบุคคล และอาศัยทรัพยากร ตลอดจนเทคนิคต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อให้บุคคลพัฒนาไปตรงตามเป้าหมายของสังคมที่ตนดำเนินชีวิตอยู่(ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 6)
คำว่า “สถานศึกษา” หมายความ ว่าสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบันหรือสถานศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและตามประกาศกระทรวง(พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. นักศึกษาอธิบายคำว่าศาสตร์และศิลป ยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ ศาสตร์คือ สามารถศึกษาได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มีกฎเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีที่เชื่อถือได้
ศิลปะคือ การนำมาใช้หรือประยุกต์ใช้หรือการนำมาปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์
3. นักศึกษากล่าวสรุปการวิวัฒนาการบริหารอย่างย่อ ๆพอสังเขป
ตอบ ทฤษฎีทางการบริหารและวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา
ระยะที่ 1 ระหว่าง ค.ศ. 1887 – 1945(ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 10) ยุคนักทฤษฎีการบริหารสมัยดั้งเดิม (The Classical organization theory) แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มดังนี้
1.กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์ (Scientific Management)ของ เฟรดเดอริก เทย์เลอร์ (Frederick Taylor) ความมุ่งหมายสูงสุดของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จัดการบริหารธุรกิจหรือโรงงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Taylor มองคนงานแต่ละคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์การได้ เจ้าของตำรับ “The one best way” คือประสิทธิภาพของการทำงานสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับสิ่งสำคัญ 3 อย่างคือ
1.1 เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด (Selection)
1.2 ฝึกอบบรมคนงานให้ถูกวิธี (Training)
1.3 หาสิ่งจูงใจให้เกิดกำลังใจในการทำงาน (Motivation)
เทย์เลอร์ ก็คือผลผลิตของยุคอุตสาหกรรมในงานวิจัยเรื่อง “Time and Motion Studies” เวลาและการเคลื่อนไหว เชื่อว่ามีวิธีการการทางวิทยาศาสตร์ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เพียงวิธีเดียวที่ดีที่สุด เขาเชื่อในวิธีแบ่งงานกันทำ ผู้ปฏิบัติระดับล่างต้องรับผิดชอบต่อระดับบน เทย์เลอร์ เสนอ ระบบการจ้างงาน(จ่ายเงิน)บนพื้นฐานการสร้างแรงจูงใจ สรุปหลักวิทยาศาสตร์ของเทยเลอร์สรุปง่ายๆประกอบด้วย 3 หลักการดังนี้
1. การแบ่งงาน (Division of Labors)
2. การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน (Hierarchy)
3. การจ่ายค่าจ้างเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Incentive payment)
2. กลุ่มการบริหารจัดการ(Administration Management) หรือ ทฤษฎีบริหารองค์การอย่างเป็นทางการ(Formal Organization Theory ) ของ อังรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการและการจัดการตามหลักบริหาร ทั้ง Fayol และ Taylor จะเน้นตัวบุคลปฏิบัติงาน + วิธีการทำงาน ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลแต่ก็ไม่มองด้าน “จิตวิทยา” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 17)Fayol ได้เสนอแนวคิดในเรื่องหลักเกี่ยวกับการบริหารทั่วไป 14 ประการ แต่ลักษณะที่สำคัญ ดร.วิชัย ตันศิริ ได้นำเสนอในหนังสือ อุดมการณ์ทางการศึกษาทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดังนี้
2.1 หลักการทำงานเฉพาะทาง (Specialization) คือการแบ่งงานให้เกิดความชำนาญเฉพาะทาง
2.2 หลักสายบังคับบัญชา เริ่มจากบังคับบัญชาสูงสุดสู่ระดับต่ำสุด
2.3 หลักเอกภาพของบังคับบัญชา (Unity of Command)
2.4 หลักขอบข่ายของการควบคุมดูแล (Span of control) ผู้ดูแลหนึ่งคนต่อ 6 คนที่จะอยู่ใต้การดูแลจึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด
2.5 การสื่อสารแนวดิ่ง (Vertical Communication) การสื่อสารโดยตรงจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง
2.6 หลักการแบ่งระดับการบังคับบัญชาให้น้อยที่สุด คือ ไม่ควรมีสายบังคับบัญชายืดยาว หลายระดับมากเกินไป
2.7 หลักการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างสายบังคับบัญชาและสายเสนาธิการ (Line and Staff Division)
3. ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบราชการ (Bureaucracy) มาจากแนวคิดของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ที่กล่าวถึงหลักการบริหารราชการประกอบด้วย
3.1 หลักของฐานอำนาจจากกฎหมาย
3.2 การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ต้องยึดระเบียบกฎเกณฑ์
3.3 การแบ่งงานตามความชำนาญการเฉพาะทาง
3.4 การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว
3.5 มีระบบความมั่นคงในอาชีพ
จะอย่างไรก็ตามระบบราชการก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งในด้าน ข้อเสีย คือ สายบังคับบัญชายืดยาวการทำงานต้องอ้างอิงกฎระเบียบ จึงชักช้าไม่ทันการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน เรียกว่า ระบบ “Red tape” ในด้านข้อดี คือ ยึดประโยชน์สาธารณะเป็นหลัก การบังคับบัญชา การเลื่อนขั้นตำแหน่งที่มีระบบระเบียบ แต่ในปัจจุบันระบบราชการกำลังถูกแทรกแซงทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ทำให้เริ่มมีปัญหา
ระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1945 – 1958 (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 10) ยุคทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation ) Follette ได้นำเอาจิตวิทยามาใช้และได้เสนอการแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทางดังนี้
1. Domination คือ ใช้อำนาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก
2. Compromise คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม
3. Integration คือ การหาแนวทางที่ไม่มีใครเสียหน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ) นอกจากนี้ Follette ให้ทัศนะน่าฟังว่า “การเกิดความขัดแย้งในหน่วยงานเป็นความพกพร่องของการบริหาร” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 25)
การวิจัยหรือการทดลองฮอร์ทอร์น (Hawthon Experiment) ที่ เมโย(Mayo) กับคณะทำการวิจัยเริ่มที่ข้อสมมติฐานว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของคนงาน มีการค้นพบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็นทางการในองค์การ ทำให้เกิดแนวความคิดใหม่ที่ว่า ความสัมพันธ์ของมนุษย์ มีความสำคัญมาก ซึ่งผลการศึกษาทดลองของเมโยและคณะ พอสรุปได้ดังนี้
1. คนเป็นสิ่งมีชีวิต จิตใจ ขวัญ กำลังใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่องสำคัญในการทำงาน
2. เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจที่สำคัญแต่เพียงอย่างเดียว รางวัลทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทำงานไม่น้อยกว่าเงิน
3. การทำงานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางสังคมมากกว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพคับที่อยู่ได้คับใจอยู่อยาก* ข้อคิดที่สำคัญ การตอบสนองคน ด้านความต้องการศักดิ์ศรี การยกย่อง จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานจากแนวคิด “มนุษยสัมพันธ์”*ระยะที่ 3 ตั้งแต่ ค.ศ. 1958 – ปัจจุบัน (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 11) ยุคการใช้ทฤษฎีการบริหาร(Administrative Theory)หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) ยึดหลักระบบงาน + ความสัมพันธ์ของคน + พฤติกรรมขององค์การ ซึ่งมีแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่หลายๆคนได้แสดงไว้ดังต่อไปนี้
เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด (Chester I. Barnard ) เขียนหนังสือชื่อ The Function of The Executive ที่กล่าวถึงงานในหน้าที่ของผู้บริหารโดยให้ความสำคัญต่อบุคคลระบบของความร่วมมือองค์การ และเป้าหมายขององค์การ กับความต้องการของบุคคลในองค์การต้องสมดุลกัน
4. นักศึกษาอธิบายทฤษฎีมาสโลว์ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีX ทฤษฎีY
ตอบ ทฤษฎีของมาสโลว์ ว่าด้วยการจัดอันดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ (Maslow – Hierarchy of needs) เป็นเรื่องแรงจูงใจแบ่งความต้องการของมนุษย์ตั้งแต่ความต้องการด้านกายภาพ ความต้องการด้านความปลอดภัยความต้องการด้านสังคม ความต้องการด้านการเคารพ – นับถือ และประการสุดท้าย คือ การบรรลุศักยภาพของตนเอง (Self actualization) คือมีโอกาสได้พัฒนาตนเองถึงขั้นสูงสุดจากการทำงาน แต่ความต้องการเหล่านี้ ต้องได้รับการตอบสนองตามลำดับขั้น
ทฤษฏีภาวะผู้นำ แยกออกได้เป็นทฤษฏีผู้นำตามคุณลักษณะ ผู้นำต้องมีคุณลักษณะที่เหมาะสมแก่การเป็นผู้นำทฤษฏีผู้นำตามตัวแบบของวรูม เยตตัน และแจโก มุ่งวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ด้านสถานการณ์ ว่ามีผลกระทบต่อระดับความร่วมมือของพนักงานมากน้อยเพียงไรทฤษฏีภาวะผู้นำ ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำ แยกได้เป็นทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำ ทฤษฏีพฤติกรรมผุ้นำ และทฤษฏีตามสถานการณ์
ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของแมคกรีกอร์ (Douglas MC Gregor Theory X, Theory Y ) เขาได้เสนอแนวคิดการบริหารอยู่บนพื้นฐานของข้อสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ต่างกัน
ทฤษฎี X (The Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎีนี้เกิดข้อสมติฐานดังนี้
1. คนไม่อยากทำงาน และหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
2. คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริเริ่ม ชอบให้การสั่ง
3. คนเห็นแก่ตนเองมากว่าองค์การ
4. คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
5. คนมักโง่ และหลอกง่าย ผลการมองธรรมชาติของมนุษย์เช่นนี้ การบริหารจัดการจึงเน้นการใช้เงิน วัตถุ เป็นเครื่องล่อใจ เน้นการควบคุม การสั่งการ เป็นต้น
ทฤษฎี Y (The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎีข้อนี้เกิดจากข้อสมติฐานดังนี้
1. คนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุน รับผิดชอบ ขยัน
2. คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้
3. คนมีความคิดริเริ่มทำงานถ้าได้รับการจูงใจอย่างถูกต้อง
4. คนมักจะพัฒนาวิธีการทำงาน และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาจะไม่ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเข้มงวด แต่จะส่งเสริมให้รู้จักควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากขึ้น ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน
2. นักศึกษาอธิบายคำว่าศาสตร์และศิลป ยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ ศาสตร์คือ สามารถศึกษาได้อย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มีกฎเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีที่เชื่อถือได้
ศิลปะคือ การนำมาใช้หรือประยุกต์ใช้หรือการนำมาปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์
3. นักศึกษากล่าวสรุปการวิวัฒนาการบริหารอย่างย่อ ๆพอสังเขป
ตอบ ทฤษฎีทางการบริหารและวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา
ระยะที่ 1 ระหว่าง ค.ศ. 1887 – 1945(ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 10) ยุคนักทฤษฎีการบริหารสมัยดั้งเดิม (The Classical organization theory) แบ่งย่อยเป็น 3 กลุ่มดังนี้
1.กลุ่มการจัดการเชิงวิทยาศาสตร์ของเทย์เลอร์ (Scientific Management)ของ เฟรดเดอริก เทย์เลอร์ (Frederick Taylor) ความมุ่งหมายสูงสุดของแนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์คือ จัดการบริหารธุรกิจหรือโรงงานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด Taylor มองคนงานแต่ละคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรที่สามารถปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิตขององค์การได้ เจ้าของตำรับ “The one best way” คือประสิทธิภาพของการทำงานสูงสุดจะเกิดขึ้นได้ต้องขึ้นอยู่กับสิ่งสำคัญ 3 อย่างคือ
1.1 เลือกคนที่มีความสามารถสูงสุด (Selection)
1.2 ฝึกอบบรมคนงานให้ถูกวิธี (Training)
1.3 หาสิ่งจูงใจให้เกิดกำลังใจในการทำงาน (Motivation)
เทย์เลอร์ ก็คือผลผลิตของยุคอุตสาหกรรมในงานวิจัยเรื่อง “Time and Motion Studies” เวลาและการเคลื่อนไหว เชื่อว่ามีวิธีการการทางวิทยาศาสตร์ที่จะบรรลุวัตถุประสงค์เพียงวิธีเดียวที่ดีที่สุด เขาเชื่อในวิธีแบ่งงานกันทำ ผู้ปฏิบัติระดับล่างต้องรับผิดชอบต่อระดับบน เทย์เลอร์ เสนอ ระบบการจ้างงาน(จ่ายเงิน)บนพื้นฐานการสร้างแรงจูงใจ สรุปหลักวิทยาศาสตร์ของเทยเลอร์สรุปง่ายๆประกอบด้วย 3 หลักการดังนี้
1. การแบ่งงาน (Division of Labors)
2. การควบคุมดูแลบังคับบัญชาตามสายงาน (Hierarchy)
3. การจ่ายค่าจ้างเพื่อสร้างแรงจูงใจ (Incentive payment)
2. กลุ่มการบริหารจัดการ(Administration Management) หรือ ทฤษฎีบริหารองค์การอย่างเป็นทางการ(Formal Organization Theory ) ของ อังรี ฟาโยล์ (Henri Fayol) บิดาของทฤษฎีการปฏิบัติการและการจัดการตามหลักบริหาร ทั้ง Fayol และ Taylor จะเน้นตัวบุคลปฏิบัติงาน + วิธีการทำงาน ได้ประสิทธิภาพและประสิทธิผลแต่ก็ไม่มองด้าน “จิตวิทยา” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 17)Fayol ได้เสนอแนวคิดในเรื่องหลักเกี่ยวกับการบริหารทั่วไป 14 ประการ แต่ลักษณะที่สำคัญ ดร.วิชัย ตันศิริ ได้นำเสนอในหนังสือ อุดมการณ์ทางการศึกษาทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดังนี้
2.1 หลักการทำงานเฉพาะทาง (Specialization) คือการแบ่งงานให้เกิดความชำนาญเฉพาะทาง
2.2 หลักสายบังคับบัญชา เริ่มจากบังคับบัญชาสูงสุดสู่ระดับต่ำสุด
2.3 หลักเอกภาพของบังคับบัญชา (Unity of Command)
2.4 หลักขอบข่ายของการควบคุมดูแล (Span of control) ผู้ดูแลหนึ่งคนต่อ 6 คนที่จะอยู่ใต้การดูแลจึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด
2.5 การสื่อสารแนวดิ่ง (Vertical Communication) การสื่อสารโดยตรงจากเบื้องบนสู่เบื้องล่าง
2.6 หลักการแบ่งระดับการบังคับบัญชาให้น้อยที่สุด คือ ไม่ควรมีสายบังคับบัญชายืดยาว หลายระดับมากเกินไป
2.7 หลักการแบ่งความรับผิดชอบระหว่างสายบังคับบัญชาและสายเสนาธิการ (Line and Staff Division)
3. ทฤษฎีบริหารองค์การในระบบราชการ (Bureaucracy) มาจากแนวคิดของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ที่กล่าวถึงหลักการบริหารราชการประกอบด้วย
3.1 หลักของฐานอำนาจจากกฎหมาย
3.2 การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบ ที่ต้องยึดระเบียบกฎเกณฑ์
3.3 การแบ่งงานตามความชำนาญการเฉพาะทาง
3.4 การแบ่งงานไม่เกี่ยวกับผลประโยชน์ส่วนตัว
3.5 มีระบบความมั่นคงในอาชีพ
จะอย่างไรก็ตามระบบราชการก็มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ซึ่งในด้าน ข้อเสีย คือ สายบังคับบัญชายืดยาวการทำงานต้องอ้างอิงกฎระเบียบ จึงชักช้าไม่ทันการแก้ไขปัญหาในปัจจุบัน เรียกว่า ระบบ “Red tape” ในด้านข้อดี คือ ยึดประโยชน์สาธารณะเป็นหลัก การบังคับบัญชา การเลื่อนขั้นตำแหน่งที่มีระบบระเบียบ แต่ในปัจจุบันระบบราชการกำลังถูกแทรกแซงทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ทำให้เริ่มมีปัญหา
ระยะที่ 2 ระหว่าง ค.ศ. 1945 – 1958 (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 10) ยุคทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation ) Follette ได้นำเอาจิตวิทยามาใช้และได้เสนอการแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทางดังนี้
1. Domination คือ ใช้อำนาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก
2. Compromise คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม
3. Integration คือ การหาแนวทางที่ไม่มีใครเสียหน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ) นอกจากนี้ Follette ให้ทัศนะน่าฟังว่า “การเกิดความขัดแย้งในหน่วยงานเป็นความพกพร่องของการบริหาร” (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 25)
การวิจัยหรือการทดลองฮอร์ทอร์น (Hawthon Experiment) ที่ เมโย(Mayo) กับคณะทำการวิจัยเริ่มที่ข้อสมมติฐานว่าสิ่งแวดล้อมมีผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของคนงาน มีการค้นพบจากการทดลองคือมีการสร้างกลุ่มแบบไม่เป็นทางการในองค์การ ทำให้เกิดแนวความคิดใหม่ที่ว่า ความสัมพันธ์ของมนุษย์ มีความสำคัญมาก ซึ่งผลการศึกษาทดลองของเมโยและคณะ พอสรุปได้ดังนี้
1. คนเป็นสิ่งมีชีวิต จิตใจ ขวัญ กำลังใจ และความพึงพอใจเป็นเรื่องสำคัญในการทำงาน
2. เงินไม่ใช่ สิ่งล่อใจที่สำคัญแต่เพียงอย่างเดียว รางวัลทางจิตใจมีผลต่อการจูงใจในการทำงานไม่น้อยกว่าเงิน
3. การทำงานขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมทางสังคมมากกว่าสภาพแวดล้อมทางกายภาพคับที่อยู่ได้คับใจอยู่อยาก* ข้อคิดที่สำคัญ การตอบสนองคน ด้านความต้องการศักดิ์ศรี การยกย่อง จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานจากแนวคิด “มนุษยสัมพันธ์”*ระยะที่ 3 ตั้งแต่ ค.ศ. 1958 – ปัจจุบัน (ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ, 2542: 11) ยุคการใช้ทฤษฎีการบริหาร(Administrative Theory)หรือการศึกษาเชิงพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral Science Approach) ยึดหลักระบบงาน + ความสัมพันธ์ของคน + พฤติกรรมขององค์การ ซึ่งมีแนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่หลายๆคนได้แสดงไว้ดังต่อไปนี้
เชสเตอร์ ไอ บาร์นาร์ด (Chester I. Barnard ) เขียนหนังสือชื่อ The Function of The Executive ที่กล่าวถึงงานในหน้าที่ของผู้บริหารโดยให้ความสำคัญต่อบุคคลระบบของความร่วมมือองค์การ และเป้าหมายขององค์การ กับความต้องการของบุคคลในองค์การต้องสมดุลกัน
4. นักศึกษาอธิบายทฤษฎีมาสโลว์ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีX ทฤษฎีY
ตอบ ทฤษฎีของมาสโลว์ ว่าด้วยการจัดอันดับขั้นของความต้องการของมนุษย์ (Maslow – Hierarchy of needs) เป็นเรื่องแรงจูงใจแบ่งความต้องการของมนุษย์ตั้งแต่ความต้องการด้านกายภาพ ความต้องการด้านความปลอดภัยความต้องการด้านสังคม ความต้องการด้านการเคารพ – นับถือ และประการสุดท้าย คือ การบรรลุศักยภาพของตนเอง (Self actualization) คือมีโอกาสได้พัฒนาตนเองถึงขั้นสูงสุดจากการทำงาน แต่ความต้องการเหล่านี้ ต้องได้รับการตอบสนองตามลำดับขั้น
ทฤษฏีภาวะผู้นำ แยกออกได้เป็นทฤษฏีผู้นำตามคุณลักษณะ ผู้นำต้องมีคุณลักษณะที่เหมาะสมแก่การเป็นผู้นำทฤษฏีผู้นำตามตัวแบบของวรูม เยตตัน และแจโก มุ่งวิเคราะห์องค์ประกอบต่าง ๆ ด้านสถานการณ์ ว่ามีผลกระทบต่อระดับความร่วมมือของพนักงานมากน้อยเพียงไรทฤษฏีภาวะผู้นำ ทฤษฎีต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาวะผู้นำ แยกได้เป็นทฤษฎีคุณลักษณะผู้นำ ทฤษฏีพฤติกรรมผุ้นำ และทฤษฏีตามสถานการณ์
ทฤษฎี X ทฤษฎี Y ของแมคกรีกอร์ (Douglas MC Gregor Theory X, Theory Y ) เขาได้เสนอแนวคิดการบริหารอยู่บนพื้นฐานของข้อสมมติฐานเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ต่างกัน
ทฤษฎี X (The Traditional View of Direction and Control) ทฤษฎีนี้เกิดข้อสมติฐานดังนี้
1. คนไม่อยากทำงาน และหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
2. คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริเริ่ม ชอบให้การสั่ง
3. คนเห็นแก่ตนเองมากว่าองค์การ
4. คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
5. คนมักโง่ และหลอกง่าย ผลการมองธรรมชาติของมนุษย์เช่นนี้ การบริหารจัดการจึงเน้นการใช้เงิน วัตถุ เป็นเครื่องล่อใจ เน้นการควบคุม การสั่งการ เป็นต้น
ทฤษฎี Y (The integration of Individual and Organization Goal) ทฤษฎีข้อนี้เกิดจากข้อสมติฐานดังนี้
1. คนจะให้ความร่วมมือ สนับสนุน รับผิดชอบ ขยัน
2. คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้
3. คนมีความคิดริเริ่มทำงานถ้าได้รับการจูงใจอย่างถูกต้อง
4. คนมักจะพัฒนาวิธีการทำงาน และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ผู้บังคับบัญชาจะไม่ควบคุมผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเข้มงวด แต่จะส่งเสริมให้รู้จักควบคุมตนเองหรือของกลุ่มมากขึ้น ต้องให้เกียรติซึ่งกันและกัน
5. ทฤษฎีอธิบายมนุษยสัมพันธ์และแรงจูงใจ
ตอบ มีอยู่มากมาย อาทิ
ทฤษฏีความต้องการ 5 ขั้นของอับราฮัม มาสโลว์ ได้แก่ ความต้องการด้านกายภาพ ความปลอดภัย ความต้องการด้านสังคม ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ และความต้องการสำเร็จสมหวังในชีวิต
ทฤษฏีความต้องการ 5 ขั้นของอีริค ฟรอมม์ มนุษย์มีความต้องการ 5 ประการ ได้แก่ มีสัมพันธภาพ สร้างสรรค์ มีสังกัด มีเอกลักษณ์แห่งตน และมีหลักยึดเหนี่ยว
ทฤษฏีความต้องการความสัมฤทธิ์ผลของแมคเคลแลนด์ มนุษย์มีความต้องการ 3 ด้าน ได้แก่ ความสำเร็จ อำนาจ และความต้องการทางสังคม
ทฤษฏีการเสริมแรงของสกินเนอร์ การเสริมแรงของมนุษย์มีพื้นฐานอยู่บนปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ มนุษย์จะมีพฤติกรรมตามการเสริมแรงที่เกิดขึ้นกับตนและการทำงานของตน เป็นพฤติกรรมที่สามารถวัดหรือสังเกตได้ และการเสริมแรงที่เหมาะสมนั้นจะทำให้พฤติกรรมที่เป็นที่ต้องการมีเพิ่มขึ้น และที่ไม่ต้องการมีลดน้อยลงไป แบ่งเป็น การเสริมแรงทางบวก คือ การให้รางวัลในผลลัพธ์จากการกระทำที่ต้องการหรือปรับปรุงพฤติกรรม และการเสริมแรงทางลบ คือ การให้รางวัลจากการสามารถขจัดสิ่งที่ไม่ต้องการออกไปได้
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ โครงสร้างบุคลิกภาพของมนุษย์ ประกอบไปด้วยพลัง 3 ประการ ได้แก่ Id Ego และ Superego
ทฤษฏีสององค์ประกอบของเฟรเดอริค เฮอร์ซเบิร์ก แรงจูงใจของมนุษย์เกิดขึ้นจากปัจจัยสองอย่าง ได้แก่ สิ่งทำให้เกิดความไม่พอใจและสิ่งที่ทำให้เกิดความพอใจ
ตอบ มีอยู่มากมาย อาทิ
ทฤษฏีความต้องการ 5 ขั้นของอับราฮัม มาสโลว์ ได้แก่ ความต้องการด้านกายภาพ ความปลอดภัย ความต้องการด้านสังคม ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ และความต้องการสำเร็จสมหวังในชีวิต
ทฤษฏีความต้องการ 5 ขั้นของอีริค ฟรอมม์ มนุษย์มีความต้องการ 5 ประการ ได้แก่ มีสัมพันธภาพ สร้างสรรค์ มีสังกัด มีเอกลักษณ์แห่งตน และมีหลักยึดเหนี่ยว
ทฤษฏีความต้องการความสัมฤทธิ์ผลของแมคเคลแลนด์ มนุษย์มีความต้องการ 3 ด้าน ได้แก่ ความสำเร็จ อำนาจ และความต้องการทางสังคม
ทฤษฏีการเสริมแรงของสกินเนอร์ การเสริมแรงของมนุษย์มีพื้นฐานอยู่บนปัจจัย 3 ประการ ได้แก่ มนุษย์จะมีพฤติกรรมตามการเสริมแรงที่เกิดขึ้นกับตนและการทำงานของตน เป็นพฤติกรรมที่สามารถวัดหรือสังเกตได้ และการเสริมแรงที่เหมาะสมนั้นจะทำให้พฤติกรรมที่เป็นที่ต้องการมีเพิ่มขึ้น และที่ไม่ต้องการมีลดน้อยลงไป แบ่งเป็น การเสริมแรงทางบวก คือ การให้รางวัลในผลลัพธ์จากการกระทำที่ต้องการหรือปรับปรุงพฤติกรรม และการเสริมแรงทางลบ คือ การให้รางวัลจากการสามารถขจัดสิ่งที่ไม่ต้องการออกไปได้
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ โครงสร้างบุคลิกภาพของมนุษย์ ประกอบไปด้วยพลัง 3 ประการ ได้แก่ Id Ego และ Superego
ทฤษฏีสององค์ประกอบของเฟรเดอริค เฮอร์ซเบิร์ก แรงจูงใจของมนุษย์เกิดขึ้นจากปัจจัยสองอย่าง ได้แก่ สิ่งทำให้เกิดความไม่พอใจและสิ่งที่ทำให้เกิดความพอใจ
แนะนำตัวเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)